-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 571 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

สิ่งแวดล้อม






มะระขี้นก


1.พันธุ์   เช่นพันธุ์พื้นเมืองที่ปลูกต่อๆกันมา และพันธุ์ลูกผสมจากหน่วยงานของรัฐหรือบริษัทต่างๆ เช่น ตราศรแดง ตราเครื่องบิน ตราปลา เป็นต้น


2. การเตรียมดิน
มะระขี้นกนิยมปลูกตามรั้วบ้าน แต่ปัจจุบันปลูกเป็นการค้าแล้วเริ่มจากการเตรียมดินไถดินตาก 7-10 วัน พรวนดินจะปลูกแบบยกร่องหรือปลูกแบบผืนใหญ่ใช้ระยะปลูกระหว่างต้น 75 เซนติเมตร ระหว่างแถว 100 เซนติเมตร ขุดหลุมลึกประมาณ 1 หน้าจอบ ใส่ปุ๋ย คอกหรือปุ๋ยหมักคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน


3. การปลูก
นำกล้ามะระขี้นกที่เพาะในถุงดำหรือนำเมล็ดลงปลูกได้เลย จำนวน 2-3 เมล็ดต่อหลุมกลบดินบางๆ รดนํ้าให้ชุ่ม เมื่อต้นกล้างอกพ้นดิน เริ่มทอดยอดทำการปักค้างด้วยไม้ใผ่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้วทุกหลุม ขึงตาข่ายเอ็นใช้เชือกมัดติดกับหลักด้านบนและด้านล่างหลักทุกหลักและมัดเชือกยึดหัว-ท้ายร่อง หมั่นจับเถามะระขี้นกให้เกาะยึดและเลื้อยกระจายทิศทางกันไป


4. การให้นํ้า
ให้นํ้ามะระขี้นกเช้า-เย็นทุกวันและเว้นหรือหยุดการให้นํ้าตามฤดูกาล


5. การใส่ปุ๋ย
ใส่ปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 1 ช้อนแกงต่อหลุมทุกๆ 15-20 วัน


6. การเก็บเกี่ยว
มะระขี้นกมีอายุได้ 50-60 วันก็ออกดอกติดผลสามารถเก็บผลผลิตได้โดยใช้มือเด็ดหรือกรรไกรตัดขั้วผลระวังไม่ให้เถากระทบกระเทือนมาก นำมาคัดขนาดบรรจุถุงขายต่อไป


7. โรคและแมลง
พบบ้างไม่มากนัก เช่น เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน แมลงวันทองควรฉีดพ่นด้วย เซฟวิน 85 พอส์ซ แมนโคเซป เป็นต้น


ที่มา  :  กรมวิชาการเกษตร









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-05-16 (1316 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©