-
++kasetloongkim.com++
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ
MySite.com :: ดูกระทู้ - BIOSOLIDS : (ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล) ตอน ผสมดินปลูก-3
 คำถามถามบ่อยของกระดานข่าวคำถามถามบ่อยของกระดานข่าว   ค้นหาค้นหา   กลุ่มผู้ใช้งานกลุ่มผู้ใช้งาน   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว   เข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณเข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณ   เข้าระบบเข้าระบบ 

BIOSOLIDS : (ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล) ตอน ผสมดินปลูก-3

 
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    MySite.com หน้ากระดานข่าวหลัก -> ถาม-ตอบ ปัญหาการเกษตร
ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป  
ผู้ส่ง ข้อความ
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 31/07/2014 2:07 am    ชื่อกระทู้: BIOSOLIDS : (ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล) ตอน ผสมดินปลูก-3 ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม ...และเพื่อนสมาชิกทุกท่าน


What are Biosolids ? ….What Biosolid are ?


ตอนที่ 1 – What are Biosolids ?





ในกระทู้ที่ 4502 …เรื่อง…..น้ำหมักชีวภาพ (ไส้ปลา + ผลไม้ + อีเอ็ม +..... เหม็นแปลกๆ)

คลิก :
http://www.kasetloongkim.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=4502

ลุงคิมตอบคำถาม....ความในตอนท้ายกระทู้มีว่า....


……..วันนี้ได้สูตรใหม่จากสารคดี ทีวี.ช่อง H2 ของเกษตรกรอเมริกา ชื่อ BIOSOLID เขาไปถึงไหนแล้ว ยังจมอยู่กับแค่ ไส้ปลา+ผลไม้ อีกเหรอ ?


มีคำที่น่าสนใจ และน่าศึกษา คือคำว่า BIOSOLIDS

เห็นแล้ว คนบ้าอย่างผม คงนิ่งเฉยอยู่ในรู ไม่ได้ ต้องออกมาติดตามดู....

คำว่า....Bio คือ ชีวะ ..ชีวิต.. สิ่งมีชีวิต …
ส่วนคำว่า Solids คือของแข็ง หรืออะไรที่มันเป็นก้อนแข็งๆ ..


..โทนเสียงฟังดูว่าดี แต่ความรู้สึกของผมมัน ทะแม่งๆ พิกล .....ของแข็งหรือก้อนๆ ที่มีชีวิต....ปุ๋ยที่แข็งหรือปุ๋ยก้อนๆ ที่มีชีวิต.....

ลองไปดูกันครับว่ามันคืออะไร .....

ก่อนเข้าเรื่อง....เดี๋ยวจะมีคนท้วงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล กลัวจะต้องไปติดคุกฝาหรั่ง จะเอาไว้ตอนท้าย เกิดคนตาไม่ดีจะหาไม่เจอ

....ผมคัดลอกมาจาก บทความของ....ตามรูปข้างล่างเนี๊ยะ.....







(1) ที่มาที่ไปก็คือ เป็นหน่วยงานที่เรียกว่า....
สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม (Environmental Protection Agency -EPA) หรือ "อีพีเอ"

เป็นหน่วยงานระดับประเทศ หรือระดับรัฐบาลกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา มีหน้าที่ดูแลปกป้องสุขภาพของมวลมนุษย์และปกป้องสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ซึ่งได้แก่อากาศ น้ำและแผ่นดิน

EPA เริ่มปฏิบัติงานเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2513 จัดตั้งโดยประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน โดยมีผู้อำนวยการสำนักเป็นผู้บังคับบัญชา หน่วยงานนี้ไม่ใช่กระทรวงแต่ผู้อำนวยการได้รับการเทียบเท่ากับรัฐมนตรี พนักงานเต็มเวลา ในหน่วยงานนี้มีจำนวนประมาณ 18,000 คน

อ้างแค่นี้..ช่วยดูด้วยว่า Clear มั๊ยครับ

เพียงแค่อ่านชื่อสำนักงาน ผมคิดว่า ความรู้สึกของผมในคำว่า Solids ไม่น่าจะผิดนะครับลุง


1) What are Biosolids?
They are nutrient-rich organic materials resulting from the treatment of domestic sewage in a treatment facility. When treated and processed, these residuals can be recycled and applied as fertilizer to improve and maintain productive soils and stimulate plant growth.


2) What is the difference between biosolids and sludge?
Biosolids are treated sewage sludge. Biosolids are carefully treated and monitored and must be used in accordance with regulatory requirements.


3) Why do we have biosolids?
We have biosolids as a result of the wastewater treatment process. Water treatment technology has made our water safer for recreation and seafood harvesting.


Thirty years ago, thousands of American cities dumped their raw sewage directly into the nation's rivers, lakes, and bays. Through regulation of this dumping, local governments now required to treat wastewater and to make the decision whether to recycle biosolids as fertilizer, incinerate it, or bury it in a landfill.


4) How are biosolids generated and processed?
Biosolids are created through the treatment of domestic wastewater generated from sewage treatment facilities. The treatment of biosolids can actually begin before the wastewater reaches the sewage treatment plant. In many larger wastewater treatment systems, pre-treatment regulations require that industrial facilities pre-treat their wastewater to remove many hazardous contaminants before it is sent to a wastewater treatment plant.

Wastewater treatment facilities monitor incoming wastewater streams to ensure their recyclability and compatibility with the treatment plant process.

Once the wastewater reaches the plant, the sewage goes through physical, chemical and biological processes which clean the wastewater and remove the solids. If necessary, the solids are then treated with lime to raise the pH level to eliminate objectionable odors.

The wastewater treatment processes sanitize wastewater solids to control pathogens (disease-causing organisms, such as certain bacteria, viruses and parasites) and other organisms capable of transporting disease.


5) How are biosolids used?
After treatment and processing, biosolids can be recycled and applied as fertilizer to improve and maintain productive soils and stimulate plant growth.

The controlled land application of biosolids completes a natural cycle in the environment. By treating sewage sludge, it becomes biosolids which can be used as valuable fertilizer, instead of taking up space in a landfill or other disposal facility.


6) Where are biosolids used?
Farmers and gardeners have been recycling biosolids for ages. Biosolids recycling is the process of beneficially using treated the treated residuals from wastewater treatment to promote the growth of agricultural crops, fertilize gardens and parks and reclaim mining sites. Land application of biosolids takes place in all 50 states.


(7) Why are biosolids used on farms?
The application of biosolids reduces the need for chemical fertilizers. As more wastewater plants become capable of producing high quality biosolids, there is an even greater opportunity to make use of this valuable resource.


(8 ) What percentage of biosolids are recycled and how many farms use biosolids?
About 50% of all biosolids are being recycled to land. These biosolids are used on less than one percent of the nation's agricultural land.


9) Are biosolids safe?
The National Academy of Sciences has reviewed current practices, public health concerns and regulator standards, and has concluded that "the use of these materials in the production of crops for human consumption when practiced in accordance with existing federal guidelines and regulations, presents negligible risk to the consumer, to crop production and to the environment."


10) Do biosolids smell?
Biosolids may have their own distinctive odor depending on the type of treatment it has been through. Some biosolids may have only a slight musty, ammonia odor.

Others have a stronger odor that may be offensive to some people. Much of the odor is caused by compounds containing sulfur and ammonia, both of which are plant nutrients.


11) Are there regulations for the land application of biosolids?
The federal biosolids rule is contained in 40 CFR Part 503. Biosolids that are to be land applied must meet these strict regulations and quality standards.

The Part 503 rule governing the use and disposal of biosolids contain numerical limits, for metals in biosolids, pathogen reduction standards, site restriction, crop harvesting restrictions and monitoring, record keeping and reporting requirements for land applied biosolids as well as similar requirements for biosolids that are surface disposed or incinerated.

Most recently, standards have been proposed to include requirements in the Part 503 Rule that limit the concentration of dioxin and dioxin like compounds in biosolids to ensure safe land application.


12) Where can I find out more about the regulations?
The biosolids rule is described in the EPA publication, A Plan English Guide to the EPA Part 503 Biosolids Rule . This guide states and interprets the Part 503 rule for the general reader.

This guide is also available in hard copy. In addition to the Plain English Guide, EPA has prepared A Guide to the Biosolids Risk Assessments for the EPA Part 503 Rule which shows the many steps followed to develop the scientifically defensible, safe set of rules (also available from EPA in hard copy.)


13) How are biosolids used for agriculture?
Biosolids are used to fertilize fields for raising crops. Agricultural use of biosolids, that meet strict quality criteria and application rates, have been shown to produce significant improvements in crop growth and yield.

Nutrients found in biosolids, such as nitrogen, phosphorus and potassium and trace elements such as calcium, copper, iron, magnesium, manganese, sulfur and zinc, are necessary for crop production and growth.

The use of biosolids reduces the farmer's production costs and replenishes the organic matter that has been depleted over time. The organic matter improves soil structure by increasing the soil's ability to absorb and store moisture.

The organic nitrogen and phosphorous found in biosolids are used very efficiently by crops because these plant nutrients are released slowly throughout the growing season. This enables the crop to absorb these nutrients as the crop grows.

This efficiency lessens the likelihood of groundwater pollution of nitrogen and phosphorous.


14) Can biosolids be used for mine reclamation?
Biosolids have been used successfully at mine sites to establish sustainable vegetation. Not only does the organic matter, inorganic matrix and nutrients present in the biosolids reduce the bioavailability of toxic substances often found in highly disturbed mine soils, but also regenerate the soil layer.

This regeneration is very important for reclaiming abandoned mine sites with little or no topsoil. The biosolids application rate for mine reclamation is generally higher than the agronomic rate which cannot be exceeded for use of agricultural soils.


15) How are biosolids used for forestry?
Biosolids have been found to promote rapid timber growth, allowing quicker and more efficient harvest of an important natural resource.


16) Can biosolids be used for composting?
Yes, biosolids may be composted and sold or distributed for use on lawns and home gardens. Most biosolids composts, are highly desirable products that are easy to store, transport and use.


17) Are there rules about where biosolids can be applied?
To determine whether biosolids can be applied to a particular farm site, an evaluation of the site's suitability is generally performed by the land applier. The evaluation examines water supplies, soil characteristics, slopes, vegetation, crop needs and the distances to surface and groundwater.

There are different rules for different classes of biosolids. Class A biosolids contain no detectible levels of pathogens.

Class A biosolids that meet strict vector attraction reduction requirements and low levels metals contents, only have to apply for permits to ensure that these very tough standards have been met.

Class B biosolids are treated but still contain detectible levels of pathogens. There are buffer requirements, public access, and crop harvesting restrictions for virtually all forms of Class B biosolids.

Nutrient management planning ensures that the appropriate quantity and quality of biosolids are land applied to the farmland. The biosolids application is specifically calculated to match the nutrient uptake requirements of the particular crop.

Nutrient management technicians work with the farm community to assure proper land application and nutrient control.


18 ) Are there buffer requirements or restrictions on public access to sites with biosolids?
In general, exceptional quality (Class A) biosolids used in small quantities by general public have no buffer requirements, crop type, crop harvesting or site access restrictions.

Exceptional Quality biosolids is the name given to treated residuals that contain low levels of metals and do not attract vectors. When used in bulk, Class A biosolids are subject to buffer requirements, but not to crop harvesting restrictions.

In general, there are buffer requirements, public access, and crop harvesting restrictions for virtually all forms of Class B biosolids (treated but still containing detectible levels of pathogens).


19) Can anyone apply biosolids to land?
Anyone who wants to use biosolids for land application must comply with all relevant federal and state regulations. In some cases a permit may be required.


20) What will it mean for a wastewater treatment plant, biosolids manager or land applier to agree to follow an Environmental Management System (EMS) for Biosolids?
A voluntary EMS is now being developed for biosolids by the National Biosolids Partnership (NBP). The NBP consists of members from the Association of Metropolitan Sewerage Agency, the Water Environment Federation, the U.S. Environmental Protection Agency (EPA) and other stakeholders including the general public.

Those facilities who pledge to follow the EMS are agreeing to follow community-friendly practices in addition to being in compliance with applicable state and Federal regulations.

Community friendly practices refer to the control of odor, traffic, noise, and dust as well as the management of nutrients. Those who pledge to follow the EMS will be subjected to audit by impartial independent third parties.




(2) Development encroaches on farm land, 2006, Adamstown, MD. USEPA Photo




(3) Farm irrigation, 2007, Idaho. USEPA Photo





(4) EPA scientist working under a protective hood, 2014, Cincinnati, OH.




(5) Flooding, Potomac River, 2008, Whites Ferry, MD.




(6) Controlled growth chambers for genetic testing, 2009, Corvallis, OR.


ที่มา ...ข้อมูลเพิ่มเติม
http://water.epa.gov/polwaste/wastewater/treatment/biosolids/genqa.cfm


ถ้าเมืองไทยทำได้นะครับลุง.....เวลาฝนตก น้ำจะไม่ท่วมถนน เทศบาลจะมีรายได้อีกไม่น้อย..... เรื่องนี้ นักวิชาเกิน (ลุง) รู้ ... ส่วนนักวิชาการหรือนัก.....เยอะแยะ ยั้วเยี้ย ไปหมด เค้าจะรู้เรื่องกันหรือเปล่า ....

ก็เคยเห็นมี โรงทำปุ๋ยหมักของเทศบาล ..ใช้ดีนะครับ แต่...โดน ตัวเขมือบ กินจนโรงปุ๋ยพังไปแล้วมั๊งครับ....

แต่ก็อีกนั่นแหละครับ เกษตรกรไทย ไม่ชอบปุ๋ยหมัก ไม่ชอบปุ๋ยอินทรีย์ ชอบแต่ 46-0-0 กับ 16-20-0 ฝังหัวอยู่แค่นี้เอง เตรียมตัวยอมรับสภาพ

....ไทย คือประเทศอันดับสุดท้ายในสมาคมอาเซี่ยน....





To be continue.




.


แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย DangSalaya เมื่อ 03/02/2017 12:01 am, แก้ไขทั้งหมด 10 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11555

ตอบตอบ: 31/07/2014 11:12 am    ชื่อกระทู้: Re: BIOSOLIDS :- What are BIOSOLIDS ? -What BIOSOLIDS are ? ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

DangSalaya บันทึก:



คำว่า....Bio คือ ชีวะ ..ชีวิต.. สิ่งมีชีวิต …
ส่วนคำว่า Solids คือของแข็ง หรืออะไรที่มันเป็นก้อนแข็งๆ ..






COMMENT :
คำพูดบางคำ จากบางคน ในบางโอกาส นำมาคิดและประยุกต์ใช้
สามารถแก้ไขสถานการณ์ร้ายให้กับตัวเองได้ .... (เซอร์ วิลตัน เชอร์ชิล)

ภาพถ่าย 1 ภาพ แทนคำพูด 1,000 ........... (หลักสูตร ซีไอเอ.)
แต่ภาพที่ได้มาเป็น วิดิโอ เท่ากับคำพูด กี่คำ...... (ลุงคิม)


BIOSOLIDS แปลเป็นภาษาพูด คือ "ปุ๋ย อินทรีย์ ชีวภาพ แห้ง" เท่านี้แหละ

- ปุ๋ย คือ ธาตุอาหารพืช
- อินทรีย์ คือ เศษซากของสิ่งมีชีวิต
- ชีวภาพ คือ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก
- แห้ง คือ สถานะของสะสารที่เป็นของแข็ง

* สถานะของสะสาร คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ซ (หลักสูตร ป.1)


วัตถุประสงค์เฉพาะกิจ :
- ปุ๋ย หมายถึง ธาตุอาหารพืช ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ฮอร์โมน
- อินทรีย์ หมายถึง วัสดุตั้งต้นในการทำธาตุอาหารให้แก่พืช มาจากมนุษย์ สัตว์ พืช
- ชีวภาพ หมายถึง จุลินทรีย์ ตัวแปลงวัสดุตั้งต้นให้มาอยู่ในสถานะที่พืชเอาไปใช้ได้
- แห้ง หมายถึง สถานะที่เหมาะสม ง่าย และสดวก ต่อการใช้งาน


** ข้อมูลพื้นฐาน เหมือนหูอยู่ข้างหัว แต่มองไม่เห็น

** ทำง่าย ถ้าอ่าน LINE ธรรมชาติออก
** ทำยาก ทำไม่ได้ เพราะใจไม่เอา




.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 31/07/2014 10:20 pm    ชื่อกระทู้: What are BIOSOLIDS ? ….What BIOSOLIDS are? ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม ...และเพื่อนสมาชิกทุกท่าน

What are Biosolids ? ….What Biosolid are?

ตอนที่ 2 – Fertilizing with BIOSOLIDS

บทความตอนที่ 2 คัดลอกจากรายงานของ มหาวิทยาลัย เนบราสก้า-ลินคอล์น:-

http://lancaster.unl.edu/

UNIVERSIY OF NEBRASKA-LINCOLN

คำขวัญของเค้า บอกว่า.................

My 4-H Pledge
HEAD
HEART
HANDS
HEALTH

"I pledge my head to clearer thinking,
my heart to greater loyalty,
my hands to larger service,
and my health to better living
. . . for my club, my community, my country and my world."

….Wow ! ….สุดยอด

My 4-H ของเกษตรกรไทย (บางคน)
HATE ……............... เกลียดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
HARD …................. มันยาก..แถวนี้ไม่มีใครเค้าทำกัน
HIRE .................... จ้างเค้าทำ นั่งชี้นิ้วอย่างเดียว
HELP….................. ช่วยด้วยเพราะทำแล้วขายไม่ออก ไม่รู้จะไปขายที่ไหน

…เย้....ยอดสุด ๆ



Fertilizing with BIOSOLIDS

ว่าด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพชนิดแห้ง

by Barb Ogg, PhD, UNL Extension Educator

email this page to a friend………ตรงนี้ เค้าอนุญาตให้ส่ง อีแมว ไปให้เพื่อน หรือใครอีกก็ได้ ไม่ว่ากัน


Modern cropping practices include adding fertilizers to meet the nutrient requirements of crops or to improve unfavorable soils. Increased understanding and use of fertilizers has contributed significantly to the tremendous increases in crop yield in the last century.

There are three primary nutrients that are commonly supplied by fertilizers: nitrogen, phosphorus and potassium.

Other important nutrients that may be added to deficient soils are sulfur, magnesium, calcium, iron, chlorine, boron, copper, manganese, molybdenum and zinc.




Nitrogen and Phosphorus

Commercial Nitrogen Fertilizers:
Commercial N fertilizer manufacturing plants capture nitrogen from the atmosphere in a chemical process which synthesizes ammonia (NH3).

Commercial chemical processes convert ammonia to stable liquid or dry formulations that vary in nitrogen content and may include other nutrients. Even though most N fertilizer formulations are fairly stable, care must be taken to prevent volatilization of nitrogen from ammonia back to the atmosphere. Nitrate (NO3) is the form of nitrogen that plants can most readily use. Nitrates are soluble in water and readily leach into the soil profile with precipitation. Unless managed carefully, considerable losses of nitrogen can occur with commercial fertilizer use.


Organic Sources of Fertilizers:
Organic sources of fertilizer include animal manures and biosolids, the processed organic solids from wastewater treatment plants. One advantage of using organic fertilizers is that much of the nitrogen is tied up in large organic molecules that must be converted through chemical processes to forms of nitrogen that the plant can use.
(ที่ลุงคิมเคยพูดไว้ เป็นจริงทุกประการ)

Because of this "slow release" chemical process, the nitrogen in biosolids and other manures is more likely to be available during the growing season when plants need it. This is a major reason why organic fertilizers often outperform inorganic sources and produce outstanding crop yields. However, excessive amounts of organic fertilizers can also result in nitrate contamination of surface and groundwaters.


Mineralization and Nitrification:
The chemical processes that convert organic N to ammonia (NH3 -N) is called mineralization. Like other chemical reactions, mineralization rates increase with higher temperatures and moisture levels.

Ammonia-N becomes nitrate N through the process of nitrification. The proportion of the total organic N that is estimated to become available to plants through mineralization/nitrification the first year is called the PAN (potentially available nitrogen). Mineralization rate studies using anaerobically digested biosolids suggest that about 15% of the total available nitrogen will become available the first year and lesser amount in subsequent years.

Eventually, most of the organic N will mineralize to plant available forms and be used by subsequent crops. Crop producers who use manure or biosolids should understand that nitrogen will become available for several years after an application, and N fertilizer amounts should be adjusted downward to prevent excess nitrate buildup in the soil.


Phosphorus in Biosolids:
Phosphorus is a nutrient needed for plant growth and is found in every living plant call. It plays an essential role in energy transformations in plant cells and is a component of lipids, proteins and metabolic efficiency. Phosphorus deficient plants are stunted, have thin, short stems, purplish leaves and delayed maturity.

Phosphorus deficiencies often occur in eroded fields because P does not leach as nitrate does, but stays in the topsoil. It is estimated that 20-30% of Nebraska soils are deficient in phosphorus. Soil tests of fields from our Lancaster County cooperators indicate that nearly 65% of applied fields are low in phosphorus, with Bray-P levels less than 16 ppm.


Other Nutrients in Biosolids:
In addition to nitrogen, biosolids have a whole complement of other essential nutrients that are required by plants. Biosolids are also 60-65% organic matter which improves the soil tilth and structure of nearly any soil. The organic matter and complement of essential nutrients in biosolids cannot be duplicated by synthetic fertilizers.

Experiments (University of Nebraska-Lincoln, Department of Agronomy) using Lincoln's Theresa Street biosolids show that yields average 5% greater when biosolids are used compared with inorganic sources of N-fertilizer plus phosphorus and zinc equivalencies. Additional experiments, currently in progress, will give important information about the multi-year crop response and economic value that farmers can expect using biosolids.


Four-Year Biosolids Study.
From 1993 - 1996, an on-farm research study was conducted on a no-till field at Dave and Wayne Nielsen's farm. This study was part of the Nebraska Soybean and Feed Grains Profitability Project, a UNL Extension Program. The objective of this study was to determine and document the profitability of biosolids versus anhydrous ammonia fertilizer as a nutrient source. Yields of four subsequent crops were evaluated from a single biosolids application.

In a replicated experiment, biosolids and anhydrous ammonia were applied prior to the 1993 crop. Approximately 45 Tons per acre of biosolids were applied to the biosolids plots and not incorporated to this no-till field. Anhydrous ammonia was applied to the remaining plots at the rate of 120 lbs per acre. The crops grown in rotation after the biosolids application were corn, sorghum, soybeans and wheat. The results are shown in the following table.



(ส่วนล่างนี้เป็นตาราง อาจดูไม่รู้เรื่อง ขอเวลาผมแก้ไขก่อน จะมาลงให้ภายหลังนะครับ)

VARIABLE 1993
CORN 1994
SORGHUM 1995
SOYBEAN 1996
WHEAT
Moisture (%)
Biosolids
Anhydrous 15.7***
17.1 13.7**
13.8 10.3(NS)
10.3 11.5*
12.2
Test Weight (lb/bu)
Biosolids
Anhydrous 57.3***
56.2 60.3 (NS)
59.8 56.4(NS)
56.4 60.4(NS)
60.2
Yield (bu/a)
Biosolids
Anhydrous 101**
96 155***
120 16**
15 47***
35

* =significantly different at 90% confidence interval
** =significantly different at 95% confidence interval
***=significantly different at 99% confidence interval
NS =not significantly different



Results:
Crop yields were significantly increased for all four subsequent years after the biosolids application in 1993. Results also showed that, in three of the four years, the biosolids treatment influenced grain moisture at harvest which may be an indicator of the physiological maturity of the crop. The test weight (pounds per bushel) significantly increased in the 1993 corn crop, but significant differences were not found in later crops.

What could have contributed to the increased yields? This rolling, upland field had low phosphorus levels (9.2 ppm Bray P), and the extra P contained in the biosolids may have played a significant factor in the increased yields. No attempt was made to add equivalent nutrients contained in the biosolids to the anhydrous plots, although a starter fertilizer (11N-52P-0K) was applied to all plots at wheat planting.

Although physiological development of the crop was not measured, it was observed that plants fertilized with biosolids plots grew faster in the early season and, by the end of the season, were more mature than the plants in the anhydrous treatment. (Data courtesy Keith Glewen, Dave Varner, Ed Penas, Earle Raun, Soybean & Feed Grains Profitability Project, UNL Extension.)


Environmental Concerns and Fertilizer Use:
Environmental and health problems can result from excessive nitrogen fertilizer use. Water soluble nitrates moving into surface waters and groundwater pose a threat to the health of 0humans that depend on those water sources. The U.S. Public Health Service has set the drinking water standard to be 10 ppm nitrate-N. Levels above 10 ppm nitrate-N can be harmful to infants because nitrate oxidizes iron in the hemoglobin of red blood cells to form methemoglobin which lacks the oxygen-carrying ability of hemoglobin.

This results in a condition called methemoglobinemia in which the blood cannot carry sufficient oxygen to individual body cells. Infants are particularly susceptible to this condition (called "blue baby syndrome") because their immature systems lack enzyme systems which convert methemoglobin back to oxyhemoglobin. Healthy older children and adults may not the adverse health problems that infants under six months of age do, although little is known about the long term health consequences of drinking high nitrate water.

Even though nitrate leaching can occur naturally in soils, it can occur from excessive use of nitrogen fertilizers. Farmers who regularly test their soil profile to determine residual nitrate levels and apply recommended rates will prevent excessive nitrates in the soil and still provide adequate nutrients for crops.

Many of the soils in Lancaster County are deficient in phosphorus, and this is a major reason for biosolids use by cooperating farmers. Unlike nitrates, phosphorus is not water soluble and stays in the top few inches of the soil. However, phosphorus can move when soil is eroded.

Phosphorus, moving with sediment, can promote the growth of algae in surface waters which depletes oxygen and kills fish. This is called eutrophication. It is especially important for farmers in the Biosolids Land Application Program to construct terraces, filter strips and other soil conservation measures to prevent loss of phosphorus into surface waters.

Scientists have become increasingly concerned about a large area of oxygen-depleted waters that develops seasonally each year in the Gulf of Mexico, near the mouth of the Mississippi River. This phenomenon is called "hypoxia", referring to water that has dissolved oxygen concentrations of less than 2 parts per million which is the limit for the survival and reproduction of most aquatic life. Many scientists believe that nutrient loading from the Mississippi River is the cause of this hypoxia.
Some people are concerned about possible environmental or health consequences due to heavy metals in biosolids. Numerous studies have shown that heavy metals are relatively immobile in soils and remain in the topsoil. Again, it is particularly important for cooperators to use soil conservation measures to prevent soil erosion. In addition, studies have clearly shown that, when metals concentrations are within EPA guidelines, crops do not accumulate metals in amounts sufficient to be harmful. For more information about EPA regulations and heavy metals concentrations, check out Regulations for Safe Use.

________________________________________

For information on reproducing this article or using any photographs or graphics, read the Terms of Use statement

PHOTO Credit: Vicki Jedlicka
Lincoln's biosolids recycling program is a joint collaboration between the City of Lincoln, Public Works and Utilities Department and University of Nebraska-Lincoln Extension in Lancaster County with assistance from the University of Nebraska Agronomy Department, Lincoln/Lancaster County Health Department and the Natural Resources Conservation Service.
________________________________________

Contact Information
University of Nebraska-Lincoln in Lancaster County
Barb Ogg or David Smith

Web site: lancaster.unl.edu

444 Cherrycreek Road, Suite A, Lincoln, NE 68528 | 402-441-7180
lancaster@unl.edu

ข้อมูลเพิ่มเติม
http://lancaster.unl.edu/enviro/biosolids/fertil.shtml


.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 31/07/2014 11:18 pm    ชื่อกระทู้: รูปที่เกี่ยวเนื่องด้วย.... BIOSOLIDS ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม ...และเพื่อนสมาชิกทุกท่าน

What are Biosolids ? ….What Biosolid are?


ตอนที่ 3 – รูปที่เกี่ยวเนื่องด้วย.... BIOSOLIDS

ลุงคิมบอกว่า

ภาพถ่าย 1 ภาพ แทนคำพูด 1,000 ........... (หลักสูตร ซีไอเอ.)
แต่ภาพที่ได้มาเป็น วิดิโอ เท่ากับคำพูด กี่คำ...... (ลุงคิม)



การนำเสนอของผมส่วนมากจะมีรูปประกอบ .....ลองไปดูรูปชุดการใช้ปุ๋ย BIOSOLIDS ดูหน่อยปะไรครับ......





(1) รถที่ขน BIOSOLIDS ชนิดแห้ง เอามาเทลงในไร่





(2) BIOSOLIDS แสนสวย





(3) BIOSOLIDS ชนิดน้ำ




(4)



(5)

(4-5) ห้ามผ่านก่อนกำหนด 30 วัน เพราะ ไบโอโซลิดส์ กำลังทำปฏิกิริยา....





(6) ออร์แกนนิคล้วน ๆ ชัวร์





(7) บุคคลภายนอกห้ามเข้า...





(8 ) รถปั่นดิน ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ขับเคลื่อนด้วย มอเตอร์ 2 ตัว บังคับด้วย รีโมท(เครื่องบังคับวิทยุ แบบที่ อจ.ประพันธุ์ใช้กับเครื่องหยอดเมล็ดข้าว).....น่าสนแฮะ






(9) กรรมวิธีในการหมักปุ๋ย BIOSOLIDS...ดูรูปแล้วพอเข้าใจกรรมวิธีมั๊ยครับ...คนบ้าอย่างผมดูแล้วยังเข้าใจเลย ....คนดี ๆ ดูแล้วไม่เข้าใจก็แย่แล้ว....






(10) ดินดีจะมีไส้เดือน






(11) แผนผังการจัดสวนโดยใช้ปุ๋ย BIOSOLID






(11.1) ผลงาน พระ นักเรียน และครูบ้านนอกไทย ทำแล้วครับ รื้อ เปลี่ยนสนามฟุตบอลล์ เป็นแปลงผัก มีแปลงทดลองปลูกข้าวอยู่มุมขวาบนด้วยละ.... เห็นแล้วหายเหนื่อยครับลุง





(12)



(13)



(14)




(15)

(12 - 15) เกษตรกรอเมริกา ตัวใหญ่ ใช้ปุ๋ยสูตรต่ำ 8-2-4, 12-4-8, 5-2-4....เกษตรกรไทย ตัวเล็ก ชอบใช้ปุ๋ยสูตรสูง ๆ ...มันแรงดีนะเว๊ย....






(16) การเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียในปุ๋ย BIOSOLIDS




(17)



(18 )



(19)




(20)



(21)



(22)

(17 - 22) แบคทีเรียจากปุ๋ย ไบโอโซลิดส์



แค่นี้ก่อนนะครับ เน็ตทำท่าไม่ค่อยดี กระตุก



.


แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย DangSalaya เมื่อ 04/08/2014 8:45 am, แก้ไขทั้งหมด 3 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11555

ตอบตอบ: 01/08/2014 7:03 am    ชื่อกระทู้: Re: What are BIOSOLIDS ? ….What BIOSOLIDS are? ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

DangSalaya บันทึก:


email this page to a friend………
ตรงนี้ เค้าอนุญาตให้ส่ง อีแมว ไปให้เพื่อน หรือใครอีกก็ได้ ไม่ว่ากัน
COMMENT :
หลังกำเนิดวิทยุรายการสีสันชีวิตไทยราว 3 ปี คือ พ.ศ. 2540 สรุปข้อมูลเรื่องเกษตรแนวอินทรีย์ จากปฐมครู อ.สำรวล ดอกไม้หอม, ดร.สุริยา ศาสนรักกิจ, ดร.อรรถ บุญนิธี หยิบ SHOT NOTE เอามา REWRITE ใหม่เป็นเอกสารได้ 2 แผ่น ชื่อ "ปุ๋ยน้ำชีวภาพ สูตรกล้อมแกล้ม" แจก สมช.วิทยุ สิริรวมเวลาแจกราว 3 ปี สุทธิกว่า 100,000 ชุด ทั้งส่ง ปณ. และแจกในงานสัญจรไปบรรยายทั่วราชอณาจักร

หลายต่อหลายครั้ง เอกสารมาจาก สมช.ที่ถ่ายเอกสารมาให้ บางรายมาครั้งละ 4-5 รีม (รีมละ 450 แผ่น) บางรายช่วยสแตมป์ดวงละ 2 บาท คราวละ 500 ดวง

เอกสาร "ปุ๋ยน้ำชีวภาพ สูตรกล้อมแกล้ม" ไปโผล่ที่ซานฟรานซิสโก ถึงมือเพื่อนทหารอเมริกัน (ร่วมรบเกาหลี 1967-1968) ได้ราวพระเจ้าบันดาล 1 ชุด อั้ยเพื่อนทหารอเมริกันให้คนไทยที่นั่นแปลให้ จึงรู้ว่ามาจาก "ชิงกู๋ แทกุ๊ก ปูแต โรเยลไทย คอมปานี่" มันโทรศัพท์มาตามเบอร์ในเอกสาร บอกด้วยเสียงเราะว่า "เกษตรกรอเมริกันทำมากว่า 50 ปีแล้ว เกษตรกรไทยเพิ่งตื่นเหรอ ?...."

ปล.
พ.ศ.นั้น ยังไม่มีอินเตอร์เน็ต จึงไม่มี "อีแมว" .... พ.ศ.นี้ มีทั้งอินเตอร์เน็ต ทั้งอีแมว เกษตรกรไทยยังไม่ตื่นเลย ว่ามั้ย


บทความตอนที่ 2 คัดลอกจากรายงานของ มหาวิทยาลัย เนบราสก้า-ลินคอล์น:-
http://lancaster.unl.edu/
UNIVERSIY OF NEBRASKA-LINCOLN
COMMENT :
ราว 10 ที่แล้ว รู้จักกับไต้หวัน (ขาว สาว หมวย อึ๋ม) ได้เล่าให้ฟังว่า ญาติเธอไปเรียนด้านเครื่องยนต์ที่อเมริกา ระหว่างเดินทางในอเมริกามีโอกาสผ่านแปลงเกษตร จึงถามเพื่อน นศ.อเมริกาว่า ที่นั่นเขาทำเกษตรแบบ อินทรีย์กับเคมี ร่วมกันได้ไง ?

คำตอบแรกที่ได้เป็นเพียง นับ 1 จึงหาโอกาสไปดูของจริงถึงแปลง จึง รู้จริง-รู้ลึก-รู้กว้าง

แม้ไต้หวันคนนั้นจะเรียนด้านเครื่องยนต์ แต่เพราะ ปชช.ไต้หวัน รวมทั้งพี่น้องตัวเองทำเกษตร จึงขวนขวายใคร่รู้เรื่องเกษตรมาด้วย ไงล่ะ



คำขวัญของเค้า บอกว่า.................
My 4-H Pledge
HEAD
HEART
HANDS
HEALTH

"I pledge my head to clearer thinking,
my heart to greater loyalty,
my hands to larger service,
and my health to better living
. . . for my club, my community, my country and my world."

….Wow ! ….สุดยอด
COMMENT :
โถ.... MOTTO ของยุวเกษตรกร ธรรมดาๆ ประเทศไทยใช้ (COPPY) เขามานานแล้ว
ยุวเกษตรกรไทย ท่องจำได้แม่นทุกคน ยิ่งกว่านกแก้วนกขุนทอง เพราะ "ดร.กรอบศักดิ์" สั่งให้ท่องไงล่ะ

ท่องอย่างเดียวนะ (ย้ำแล้วย้ำอีก ย้ำนักย้ำหนา) ทุกวันนี้ก็ยังท่อง ท่อง ท่อง และท่องท่อง
ห้าม ห้าม และห้ามเด็ดขาด....ห้าม คิด/วิเคราะห์/ปฏิบัติ/ขยายผล/ต่อยอด/ฯลฯ เด็ดขาด ....
เด็กคนไหนละเมิดข้อห้ามจะถูก "ฟ้าผ่า"




My 4-H ของเกษตรกรไทย (บางคน)
HATE ……............... เกลียดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
HARD …................. มันยาก..แถวนี้ไม่มีใครเค้าทำกัน
HIRE .................... จ้างเค้าทำ นั่งชี้นิ้วอย่างเดียว
HELP….................. ช่วยด้วยเพราะทำแล้วขายไม่ออก ไม่รู้จะไปขายที่ไหน
…เย้....ยอดสุด ๆ
COMMENT :
เพราะลุงคิมถูกมองว่าชอบ "ด่า-บ่น" จึง....
เชิญชวนใครก็ได้ COMMENT หน่อย
ัMENT มาเถอะ ไม่ต้องกลัวผิดกลัวถูก ถ้า MENT นั้นอยู่บนความจริงใจ





Organic Sources of Fertilizers :
Organic sources of fertilizer include animal manures and biosolids, the processed organic solids from wastewater treatment plants. One advantage of using organic fertilizers is that much of the nitrogen is tied up in large organic molecules that must be converted through chemical processes to forms of nitrogen that the plant can use.
COMMENT :
HOMEWORK :
เชื่อว่าระดับคนเล่นเน็ตได้ อ่านออกทุกคน
แปลหน่อยซี่ ..... CHECK FEEDBACK น่ะ....




.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 04/08/2014 8:26 am    ชื่อกระทู้: What are Biosolids ? ….ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพแห้งจากสิ่งปฏิกูล ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม ...และเพื่อนสมาชิกทุกท่าน

What are Biosolids ? ….ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพแห้งจากสิ่งปฏิกูล

ตอนที่ 3 – มั่วนิ่ม


ขออภัยที่ผม นักวิชาเกิน แปลภาษาวิชาการ เป็น ภาษาวิชาการไม่เป็น ....ขอ มั่วนิ่ม เป็นภาชาวบ้าน เชย ๆ แบบคนบ้าครับ

คัดลอกจากที่ลุง Comments

Organic Sources of Fertilizers:

Organic sources of fertilizer include animal manures and biosolids, the processed organic solids from wastewater treatment plants.

One advantage of using organic fertilizers is that much of the nitrogen is tied up in large organic molecules that must be converted through chemical processes to forms of nitrogen that the plant can use.(ที่ลุงคิมเคยพูดไว้ เป็นจริงทุกประการ)


แหล่งที่มาของปุ๋ยอินทรีย์ :-

แหล่งที่มาของปุ๋ยอินทรีย์ ประกอบด้วยปุ๋ยตามธรรมชาติจากซากสัตว์ (ปุ๋ยคอก) และปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพแห้งที่ย่อยสลาย โดยผ่านกระบวนการทำให้เป็นอินทรีย์สารที่แห้ง (ตกตะกอนเป็นก้อน-ทำให้แห้ง) จากเครื่องบำบัดน้ำเสีย ซึ่งทำให้สามารถนำไปใช้กับพืชได้

ความได้เปรียบประการหนึ่ง ของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ คือ ความอุดมสมบูรณ์(เต็ม) ไปด้วย ธาตุไนโตรเย่น แต่ก็มีข้อจำกัด คือ เนื่องจากยังเป็นอินทรีย์สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ซึ่งจะต้องเปลี่ยนโครงสร้างโดยกระบวนการทางเคมี (เพื่อให้โมเลกุลเล็กลง) เพื่อให้พืชสามารถนำ (ดูด) ธาตุไนโตรเย่นไปใช้งาน (เป็นอาหาร) ได้..(ที่ลุงคิมเคยพูดไว้ เป็นจริงทุกประการ)

ลุงคิมยกมาแค่นี้

ผมขอเพิ่มเติมให้จบกระทงความครับ

Because of this "slow release" chemical process, the nitrogen in biosolids and other manures is more likely to be available during the growing season when plants need it.

This is a major reason why organic fertilizers often outperform inorganic sources and produce outstanding crop yields.


However, excessive amounts of organic fertilizers can also result in nitrate contamination of surface and groundwaters.


ทั้งนี้เพราะเหตุว่า เป็นกระบวนการ (ปฏิกิริยา) ทางเคมี ที่การปลดปล่อยธาตุอาหารจะเป็นไปอย่างช้าๆ โดยที่ธาตุไนโตรเจนที่อยู่ในปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพแห้งที่ย่อยสลายแล้วและในปุ๋ยคอกอย่างอื่น สามารถจะใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ในระหว่างฤดูที่พืชพันธุ์กำลังเจริญเติบโต หรือตามความต้องการของพืช สิ่งนี้เป็นเหตุผลหลักว่า ทำไมปุ๋ยอินทรีย์จึงให้ผลดีกว่าปุ๋ยอนินทรีย์ (ปุ๋ยเคมี) และเป็นสิ่งที่จะทำให้เกิดผลผลิตที่ตกค้า ง(ผลผลิตนอกฤดู)

แบบนี้จะเรียกว่า อินทรีย์นำ เคมีเสริมตามความเหมาะสมหรือเปล่าล่ะครับลุง....

อย่างไรก็ตาม การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มากเกินความจำเป็น (ใส่แยะเกินไป) จะส่งผลให้เกิดการปนเปื้อนของสารประกอบไนโตรเจน (เกิดเกลือไนเตรท) บนผิวหน้าและน้ำใต้ดิน.


แปลแบบคนบ้า ถ้าอ่านแล้วไม่รู้เรื่อง อย่ามาว่ากัน

ขอลงรูปเพิ่มเติมด้วยครับ




(23)



(24)



(25)

(23 – 25) เปรียบเทียบการใช้ กับไม่ใช้ปุ๋ย BIOSOLIDS





(26) เพื่อนกะเหรี่ยงเห็นรูปนี้ บอกว่า เฮาจะบ้าตาย.....




(27)



(28 )



(29)



(30)

(27 – 30) เกษตรกรอเมริกันใช้ปุ๋ย BIOSOLIDS ....ต้นไม้มันงามแบบนี้.....เกษตรกรไทยแลนด์ ใช้ปุ๋ยอะไร..จ๊ะ




.



แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย DangSalaya เมื่อ 04/08/2014 11:49 am, แก้ไขทั้งหมด 1 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
hans
สาวดาม
สาวดาม


เข้าร่วมเมื่อ: 28/04/2013
ตอบ: 146

ตอบตอบ: 04/08/2014 9:14 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

.
.
สวัสดีค่ะลุงคิม ทิดแดง และสมาชิกทุกท่าน

แดงเอ้ยป้าก็จะบ้าตายเหมือนกัน ลุงคิมจ๋าอย่า "ขี้เกียจ" เลยนะจ๊ะ ทำเถอะ ปุ๋ยสกัดแห้ง รอรอรอรอรอ รอค่ะ

ประเทศไทยรัฐบาลไหนก็กลัว เกษตกรลืมตาอ้าปากได้ เดี๋ยวควบคุมยาก อย่ากระนั้นเลยลุงทำปุ๋ยแห้งเลย


ด้วยรัก ผูกพัน
พิมพ์ค่ะ



.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11555

ตอบตอบ: 04/08/2014 4:27 pm    ชื่อกระทู้: Re: รูปที่เกี่ยวเนื่องด้วย.... BIOSOLIDS ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

DangSalaya บันทึก:



(1) รถที่ขน BIOSOLIDS ชนิดแห้ง เอามาเทลงในไร่
COMMENT :
ดูในหนังสารคดีแล้วสมเพทประเทศไทย ผู้บริหารแม้ไม่เคยไปอเมริกาไปให้เห็นกับตา แต่ในหนังสารคดีก็เป็นตัวบอกได้ ก็เพราะผู้บริหารคิดแต่เพียงว่า "ก.ได้อะไร....ก.ได้เท่าไหร่" ไงล่ะ ถึงไม่ทำ

ถามจริง โรงงานแปรรูปขยะเป็นปุ๋ยอินทรีย์ สังกัด กทม. WORK ไหมพี่น้อง ?

ข้อมูลใหม่ ประเทศไทย ทหารเก่งที่สุด ทหารทำได้ทุกอย่าง (ยกเว้น...ยาสีฟันออกจากหลอดแล้วเอากลับคืนหลอดไม่ได้...) รู้ว่า จ.อยุธยา เป็นจังหวัดที่มีขยะมากที่สุดในประเทศไทย ทหารรู้ได้ไง ว่าแล้วก็สั่งให้อยุธยาเป็นจังหวะนำร่อง แก้ปัญหาขยะล้นเมือง

กังขาก็คือ ผู้บริหารตั้งแต่สูงสุดในจังหวัด ลงมาถึงต่ำสุดในจังหวัดไม่มีใครรู้ถึงวิธีแก้ปัญหาเอาเลยหรือ ต้องรอให้ทหารมาสั่ง แสดงว่า คำสั่งทหาร "ขลัง" ยังงั้นเหรอ ?


เข้าเรื่อง BIOSOLIDS :
- ข้อมูลก็บอกแล้วว่า "สิ่งปฏิกูล" .... คนไทย ! ใครไม่รู้จักสิ่งปฏิกูลบ้าง .... ยกมือ !
- ในหนังสารคดีบอกว่า เอากากของแข็งจากก้นบ่อบำบัดน้ำเสียประจำรัฐ มากรองน้ำออกจนเหลือแต่ O.M. (ORGANIC MATTER) แปลว่า "อินทรีย์วัตถุ" ไง

- กากก้นบ่อและน้ำในบ่อบำบัดน้ำเสียมาจากไหน ก็มาจากบ้านคน (ครัวบ้าน ครัวโรงแรม ครัวโรงงาน ร้านอาหาร น้ำเสียจากท่อระบายน้ำของเมือง ส้วม ยกเว้นของเสียโรงงานอุตสาหกรรม .... ในสารคดีบอกว่าต้องกรองกระดาษชำระ ผ้าอนามัย ถุงพลาสติก ออกจำนวนมากทุกครั้ง) จากทุกสารทิศผ่านท่อระบายน้ำมารวมกันในบ่อ

- ในบ่อมีระบบบำบัดน้ำเสีย ด้วยกังหันหมุนน้ำให้วน เมื่อน้ำวนกากก็จะไปรวมกันที่ก้นบ่อ เหมือนระบบทำน้ำประปาเป๊ะเลย วันดีคืนดี เขาดูดกากนั้นขึ้นมาแล้วกรองเอาแต่เนื้อๆ ด้วยเครื่องกรองพิเศษ เอาไปปรุงขั้นตอนต่อไป .... ถามหน่อย กากที่ว่านี้ใช่ปุ๋ยไหม ?

- ได้สารพัดกากก้นบ่อมาแล้ว เอามาผสมกับปุ๋ยคอก (วัว หมู ม้า แพะ) ทุกชนิดจากฟาร์ม นี่คือ การระบายสิ่งปฏิกูลจากคอกปศุสัตว์ไหม ?

- เอากากก้นบ่อ + ปุ๋ยคอก + จุลินทรีย์กลุ่มไมโครไรซ่า (ขยายเชื้อจากรากเห็ด) คลุกเคล้าให้เข้าดี แล้วอบด้วยความร้อน 60 องศา ซี. (จุลินทรีย์เจริญดีที่สุด ณ อุณหภูมิ 40-60 องศา .... อุณหภูมิ 60 องศา. ไตรโคเดอร์ม่าเกิด .... อุณหภูมิเกิน 70 องศา จุลินทรีย์ทุกชนิดตายหมด .... ข้อมูล : ดร.สุริยา ศาสนรักกิจ ผอ.วว.) จนแห้งสนิท จากนั้นเอามาบดละเอียดอีกครั้ง ทุกอย่างก็พร้อมใช้งาน

- ทุกขั้นตอนทำด้วยเครื่องจักรโรงงานขนาดใหญ่มากๆ ๆๆ ๆๆ


ปุจฉา วิสัชนา :
- กากก้นบ่อบำบัดน้ำเสีย, ปุํยคอกจากฟาร์ม คิดรวมมูลค่าเท่าไหร่ ? เมื่อเทียบกับการกำจัดสิ่งปฏิกูล

- ปริมาณมากขนาดบันทุกรถพ่วง 24 ล้อ สิ่งปฏิกูลพวกนี้ถ้าไม่มาอยู่ในแปลงเกษตร แล้วจะไปอยู่ที่ไหน ?

@@ "คิด/วิเคราะห์/เปรียบเทียบ"
- ส่วนผสมใน BIOSOLIDS เปรียบเทียบกับส่วนผสมในระเบิดเถิดเทิง อย่างไหน ชนิดและปริมาณ ของสารอาหารพืชมากกว่ากัน

- ส่วนผสมทุกอย่างในน้ำหมักระเบิดเถิดเทิง เอามาอบแห้ง ให้ได้เนื้อเพียวๆ 1 กก. ต้องใช้ระเบิดเถิดเทิงชนิดน้ำกี่ กก. หรือกี่ลิตร ?

- คิดในเชิงเศรษฐศาสตร์การลงทุนแล้ว แม้รู้ว่าไม่คุ้ม แต่ก็จะทำเพื่อเอาคำตอบ ใช่/ไม่ใช่ .... ก.ทำกับมือ ม.อย่าเถียง

- โรงงานแปรรูปสิ่งปฏิกูลเป็นปุ๋ยอินทรีย์แห้ง มูลค่า 100 ล้านบาท
- โรงงานแปรรูปน้ำหมักระเบิดเถิดเทิงน้ำเป็นแห้ง มูลค่า 100 บาท .... จะทำให้ดู





(3) BIOSOLIDS ชนิดน้ำ
COMMENT :
- หว่านปุ๋ยอินทรีย์ชนิดเม็ดเล็กขนาดไหนก็ลงพื้นเป็น "กองเอ๊าะเยาะ" เหมือนกันหมด
- ปุ๋ยอินทรีย์ตัวเดียวกัน ละลายน้ำ แล้วส่งลงไปในดิน เนื้อปุ๋ยย่อมกระจายทั่วทุกตารางนิ้ว

- ปุ๋ยเคมีเราก็อีหร็อบเดียวกัน ละลายน้ำใส่เป้สะพาย ปรับหัวฉีดให้เม็ดน้ำใหญ่ๆ ฉีดลงพื้น เนื้อปุ๋ยจะกระจายทั่วพื้นทุกตารางนิ้ว ลงทุกจุดที่รากดูดไปใช้ได้ทุกราก

- ผสมปุ๋ยทุกอย่างละลายในน้ำ ใส่ถัง 20 ล. มีก๊อก 1-2 ก็อกซ้ายขวา เปิดก๊อกให้น้ำละลายปุ๋ยไหลออกมาได้ ติดตั้งหน้ารถไถเดินตาม ท้ายรถไถดินตามมีอีขลุบตามย่่ำ เมื่อเริ่มเดินหน้ารถไถเดินตามก็เปิดก็อกที่ถังบรรจุปุ๋ย น้ำละลายปุ๋ยหยดลงพื้นที่ด้านหน้า แล้วถูกอีขลุบด้านหลังย่ำกวาดไปได้ทั่วทั้งแปลง ทุกจุดทุกตารางนิ้วมีเนื้อปุ๋ยเท่าเทียมกัน นี่คือ เทคโนโลยีชาวบ้าน ยิงนกตัวเดียวได้กระสุน 2 นัด

- หว่านเม็ดปุ๋ยลงไปในนาข้าว ข้าวกอไหนมีเม็ดปุ๋ยลงไปให้ ข้าวกอนั้นงาม กอไหนที่ไม่มีเม็ดปุ๋ยลงไปให้ก็ไม่งาม เป็นธรรมดา ข้าวบางกอไม่งามชาวนาหลงคิดว่าปุ๋ยน้อย ว่าแล้วหว่านต่ออีก 1 กส. ถึงหว่านซ้ำ กส.ที่สองแล้ว ข้าวบางกอก็ยังไม่ได้รับอยู่ดี....ว่ามั้ย

ทำไมชาวนาจึงไม่พัฒนา "เทคนิคหรือวิธีการ" ให้ปุ๋ย .... ไม่รู้ หรือ ขี้เกียจ กันแน่




.


แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย kimzagass เมื่อ 04/08/2014 11:14 pm, แก้ไขทั้งหมด 1 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
hans
สาวดาม
สาวดาม


เข้าร่วมเมื่อ: 28/04/2013
ตอบ: 146

ตอบตอบ: 05/08/2014 10:00 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

.
.

สวัสดีค่ะลุงคิม ทิดแดง ยายเฉิ่ม คุณทรงพล และสมาชิก ทุกๆๆท่าน

ลุงจ๋า ด้วยความหวังดี เคยบอกเพื่อนนารอบๆๆ ละลายปุ๋ยฉีดเหมือนลุงบอก เขาว่าขี้เกียจ ยุ่งยาก
เดี๋ยวนี้ไม่พูดไรเลย บ้าลากสายยางฉีดอยู่คนเดียว ต้ดใบข้าวคนเดียว แล้วก็โดนว่าอีบ้าเอาอีกแล้วก็เฉย

ลุงจ๋ารอ "ป๋ยแห้ง" ลุงอยู่นะ


ด้วยรักและผูกพัน
พิมพ์ค่ะ



.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 09/10/2016 4:53 pm    ชื่อกระทู้: What are Biosolids ? ….ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพจากสิ่งปฏิกูล ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม ...และเพื่อนสมาชิกทุกท่าน

What are Biosolids ? ….ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพจากสิ่งปฏิกูล

(B2.9 – 4507) - 4






(1)


(2)


(3)

(1 - 3) สูตรปุ๋ยอินทรีย์ขนาดนี้ ถือว่า สูง และเข้มข้นแล้วนะครับ...แต่เกษตรกรเมืองไทย ไม่ชอบ เค้าว่าสูตรมันต่ำเกินไป ต้อง เป็นเคมี สูตรสูง ๆ





(4) นี่แหละครับ Biosolids ….ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพจากสิ่งปฏิกูล




(5) Pumpkin seedlings planted out on windows of composted biosolids.




(6)


(7)


(8 )


(9)


(10)

(6 - 10) คุณว่า ผักที่ปลูกด้วยปุ๋ยอินทรีย์ มันงามดีหรือเปล่าครับ






.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
orchid
สาวดอง
สาวดอง


เข้าร่วมเมื่อ: 07/05/2014
ตอบ: 43

ตอบตอบ: 07/12/2016 4:31 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุง...พี่ทิดแดง..

คุณแคท ขอตัวไปนอนซะแล้ว


ระยะนี้สนามหลวง Bio So ยังไม่ Lid แยะเลยนะ...เค้าเอาไปทำให้แห้งเป็น Solid ที่ไหนครับ...


.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 22/12/2016 11:37 pm    ชื่อกระทู้: Biosolids – ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล ตอน ใช้ Biosolid ผสมดิ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม...และเพื่อนสมาชิกทุกท่าน


Biosolids – ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล ตอน ใช้ Biosolid ผสมดินปลูก

(B2.7 – 4.1) ใช้ Biosolid เก่าข้ามปี ผสมดินปลูก





(1)


(2)


(3)


(4)

(1 – 4) ดินโคนกอไผ่....+ สารพัดขี้(ขี้หมูแท้ ๆ – ขี้วัว – ขี้นกกระทา – ขี้อื่น ๆ ยกเว้นขี้ไก่) หมัก เก็บไว้ข้ามปี + มะพร้าวสับ + ขุยมะพร้าวงนิดหน่อย คลุกเคล้าให้เข้ากัน




(5)ความจริง ส่วนผสมตามในข้อ 1 – 4 ก็ใช้ได้แล้ว แต่อยากให้เป็น ขี้ซูเปอร์ ก็เลยผสม ระเบิด 30-10-10 + รกหมูหมัก + Fish Emulsion หมักเข้าไปด้วย....




(6) ใช้อุปกรณ์ในข้อ 5 ผสมน้ำใส่ฝักบัว รด ราดลงไปในกองดินผสมขี้...




(7)


(8 )

(7 – 8 ) จากนั้นก็คลุกเคล้าส่วนผสมให้เข้ากัน




(9) กองทิ้งเอาไว้ หมักต่ออีกซัก 7 วัน



(10)


(11)

(10 – 11) ผ่านไป 7 วัน ลองคุ้ยกลับดินดู...เจอไส้เดือน สอง สามตัว




(12) รวมกองเพื่อใช้ปลูกต้นไม้ต่อไป
แต่ เนื่องจาก ส่วนผสมในดินกองนี้เป็น ขี้ซูเปอร์ มันแรงครับ ใช้เพียว ๆ มีหวังรากเน่า .......การจะใช้ ต้องเอาปุ๋ยจากกองนี้ ไปผสมดินปลูก หรือจะใช้โรยรอบโคนต้น หรือโรยหน้ากระถางต้นไม้





(13) ขี้ซูเปอร์ + ดินปลูก ใช้กับต้นไม้ได้ทุกชนิด...ต้นนี้ เจ๊ของผมแกเพาะเมล็ดเอาไว้ สงสัยน่าจะเป็นถั่วพู



(14)


(15)


(16)


(17)

(14 – 17) พริกขี้หนูสวน ปลูกจากดินผสมขี้ซูเปอร์...จากที่เห็นนี้ รู้สึกว่า จะใส่ ปุ๋ย มากไปหน่อย ยอดเลยบิด




.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 23/12/2016 8:45 pm    ชื่อกระทู้: Biosolids – ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล ตอน ผสมดินปลูก 2 ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม...และเพื่อนสมาชิกทุกท่าน

Biosolids – ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล ตอน ผสมดินปลูก 2

(B2.7 – 4.2) ใช้ Biosolid เก่าข้ามปี ผสมดินปลูก





(1) ลุงคิมพูดเสมอว่า ในการจะปลูกพืช....ดินต้องมาก่อน ดินต้องมาก่อน และดินต้องมาก่อน



(2) ดินผสมในข้อ 4.1 ในบทก่อน เป็น Biosolid ชนิดซูเปอร์ มันแรงครับ ผมใช้เป็นหัวเชื้อ เพื่อลดความแรงในการผสมดินปลูก


(3)


(4)


(5)

(3– 5) ผมเอาดินตามรูป 1 มาผสมให้ลดความเข้มข้นลง เพื่อเก็บเอาไว้ใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องผสมบ่อย ๆ วัสดุหลักก็คือ แกลบดิบเก่าเก็บข้ามปี + ขุยมะพร้าว + มะพร้าวสับ.....(ผมไม่ชอบใช้แกลบดิบ หรือแกลบดำ ผสมดินปลูก มันอาจจะดีในระยะแรก แต่ไม่ค่อยจะดีในระยะยาว)

จากนั้นก็เอาดินผสมตามข้อ 1 ที่ค่อนข้างเปียกมากหน่อย มาผสมกับวัสดุ ตามข้อ 2 – 4 ผสมแบบแห้ง ๆ นะครับ จะเก็บไว้ได้นานหน่อย ทำให้ไม่ย่อยสลายตัวเร็วเกินไป



(6) เวลาจะใช้ก็บรรจุลงภาชนะแห้ง ๆ แบบนี้แหละ ก่อนจะปลูกก็รดน้ำผสมน้ำหมักสูตร อีรุงตุงนัง ให้ชุ่มซะก่อน ....น้ำหมักสูตร อีรุงตุงนัง คือคุณมีน้ำหมักอะไร ก็ใช้ได้ทั้งนั้นแหละ ใช้กากน้ำตาลอย่างเดียวผสมน้ำรดยังได้เลย ถ้าใครมี EM E-Abb หรือ E-Kim ก็เอามาผสมน้ำรด ก็จะยิ่งดี...กรณีไม่มีอะไรจริง ๆ ขุดดินโคนต้นกล้วย ซักก้อน โตประมาณลูกมะพร้าว เอามาละลายน้ำ ปล่อยทิ้งให้ตกตะกอน กรองเอาน้ำใส ๆ มาใช้รด.....

ถ้าอยากให้วัสดุปลูกย่อยสลายเร็ว ๆ ก็เอาน้ำหมักจุลินทรีย์จาวปลวก หรือจุลินทรีย์หน่อกล้วย ผสมน้ำรด ก็จะย่อยสลายเร็วขึ้น....



(7) ดินถุงปลูกต้นไม้..ใช้ให้เป็น..ใช้ให้ดี
ดินผสมที่ขายเป็นถุงตามริมถนนหรือปั๊มน้ำมัน ถือเป็นสินค้าประจำของคนรักสวนรักต้นไม้เลยทีเดียว เพราะดินในสวนตามบ้านหรือที่อยู่อาศัยปัจจุบันโดยเฉพาะในหมู่บ้านจัดสรร มักเป็นดินถมซึ่งไม่ค่อยมีคุณภาพนัก ทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตไม่ดีเท่าที่ควร หลายคนจึงหันไปใช้ดินผสมที่วางขายมากขึ้น เพราะนอกจากจะหาง่าย ใช้สะดวกแล้วยังไม่ต้องไปหาซื้อวัสดุมาผสมเองให้ยุ่งยากและเปลืองแรง

แต่ก่อนจะซื้อดินผสมสักถุง ลองดู “เกร็ดสวน” ดีๆ ที่เรานำมาฝาก ทั้งการใช้ให้เหมาะกับชนิดต้นไม้ การเลือกซื้อ และสูตรดินผสมง่ายๆ ให้ไปทำใช้เองกัน

เลือกดินผสมให้เป็น
ดินผสมถุงที่ขายทั่วไปมีให้เลือกใช้หลายสูตร ก่อนซื้อควรอ่านฉลาก ถ้าเป็นไปได้เลือกที่บอกวัตถุดิบไว้ข้างถุง ปกติแล้วพันธุ์ไม้แต่ละชนิดต้องการวัสดุปลูกแตกต่างกัน เช่น

ไม้ดอกไม้ประดับทั่วไปควรเลือกใช้ดินผสมที่มีความร่วนซุยสูง มีอินทรีย์สารที่เป็นประโยชน์กับพืช

ดินผสมสำหรับเพาะกล้าต้องเก็บความชื้นและระบายน้ำได้ดีโดยไม่จำเป็นต้องมีธาตุอาหาร

สำหรับพืชจำพวกแคคตัสและไม้อวบน้ำ ดินผสมควรมีความโปร่ง ระบายน้ำและอากาศได้ดี

โดยส่วนใหญ่แล้วดินผสมถุงที่วางขายในปัจจุบันมักมีความร่วนซุย แต่ธาตุอาหารน้อย ดังนั้น การนำมาใช้จึงควรผสมปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีร่วมด้วย เพื่อเสริมธาตุ-อาหารให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช
- ดินผสมทั่วไป เนื้อละเอียดร่วนซุยสีเข้ม หากนำไปใช้งานควรใส่ปุ๋ยคอกเพิ่ม
- ดินปลูกแคคตัส เนื้อร่วนซุยผสมทรายเยอะจึงระบายน้ำดี
- ดินหมักใบก้ามปู เนื้อดินโปร่งระบายน้ำและอากาศได้ดีมีธาตุอาหารสูง
- ดินขุยไผ่ เนื้อดินหนัก สีเข้มจับตัวเป็นก้อน แต่แตกร่วนง่ายเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง
- ดินผสมปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ควรเลือกที่มีสีเข้ม ร่วนซุย ความชื้นพอเหมาะ บางร้านจะเปิดถุงให้เราดูเนื้อวัสดุด้านใน ให้ดูว่าดินถุงยี่ห้อนั้นมีเนื้อดิน ไม่ได้เต็มไปด้วยส่วนเติมเต็มอื่นๆ เช่นขุยมะพร้าว ถ่าน และแกลบมากจนเกินไป ลองกำเบาๆ สังเกตว่าเนื้อวัสดุจะอัดตัวเป็นก้อนได้แต่แตกร่วนง่าย (ดินผสมปลูกพืชบางชนิดไม่สามารถนำข้อสังเกตนี้ไปใช้ได้ เช่น ดินแคคตัส ดินปลูกบัว)

ทำดินผสมใช้เอง
หากใกล้บ้านคุณมีแหล่งวัตถุดิบที่หาซื้อได้ง่ายราคาถูก ก็สามารถทำดินผสมใช้เองได้ คุณสมบัติของดินผสมที่ดีคือ โปร่ง ร่วนซุย อุ้มน้ำ และระบายอากาศได้ดี มีธาตุอาหารและจุลินทรีย์ ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช นอกเหนือจากดินแล้วยังมีส่วนเติมเต็มซึ่งเราอาจแยกคุณสมบัติเด่นๆ ของวัสดุปลูกแต่ละชนิดได้ ดังนี้

- ใบไม้ผุ เช่น ใบก้ามปูมีการระบายน้ำดีมีธาตุไนโตรเจนสูง

- ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยหมักปุ๋ยคอก ช่วยให้วัสดุปลูกอุ้มน้ำได้ดี ร่วนซุยอากาศถ่ายเทได้ดีทั้งยังมีการปลดปล่อยธาตุอาหารให้พืชอย่างต่อเนื่อง

- กาบมะพร้าวสับหรือขุยมะพร้าวหาง่าย ราคาไม่แพงช่วยให้วัสดุปลูกโปร่งและร่วนซุย ทั้งยังอุ้มน้ำได้ดี

- ขี้เถ้าแกลบ หาง่ายราคาถูก น้ำหนักเบาเมื่อผสมกับดินทำให้ดินเบาระบายน้ำดี ใช้ผสมกับดินเหนียวทำให้ร่วนซุยมากขึ้น ใช้เป็นวัสดุปลูกกล้าพืชบางชนิดและปักชำ แต่ควรล้างน้ำเพื่อให้ความเป็นกรดเป็นด่างลดลง

- แกลบดิบ มีความพรุนสูงโปร่งเบา จึงถ่ายเทอากาศได้ดีขณะเดียวกันก็ช่วยอุ้มน้ำรักษาความชุ่มชื้นในดิน

วัสดุที่นำมาใช้ก็ควรหาได้ง่ายในท้องถิ่น ราคาไม่สูงจนเกินไป เช่น ชานอ้อย เปลือกถั่วลิสง ซังข้าวโพด กากถั่วเหลืองแต่วัสดุบางชนิดก็ต้องระวังเรื่องคุณสมบัติเฉพาะตัวก่อนนำมาใช้เช่น ขี้เลื่อย เป็นวัสดุน้ำหนักเบา ราคาไม่แพงนัก และหาได้ง่ายแต่มีธาตุอาหารค่อนข้างน้อย

ขี้เลื่อยไม้บางชนิดอาจมีสารที่เป็นพิษกับพืช จึงควรหมักไว้นาน ประมาณ 6 เดือนก่อนนำไปใช้

กากตะกอนอินทรีย์จากโรงงานต่างๆ มักมีธาตุอาหารและความเข้มข้นค่อนข้างสูง จึงควรใช้ในปริมาณน้อยๆ หรือใช้ทดแทนปุ๋ยเคมีได้ในบางครั้งโดยนำไปตากให้แห้งก่อนนำไปใช้ และควรเลือกกากตะกอนที่ไม่มีสารเคมีหรือโลหะหนักปนเปื้อน

ลองมองหาวัสดุรอบตัวมาดัดแปลงผสมลงในเครื่องปลูก ก็จะช่วยให้ลดค่าใช้จ่ายลงได้

สูตรดินผสม
• ไม้ประดับทั่วไป
สูตรที่ 1 ดินร่วน : ทราย : ใบไม้ผุ : ขุยมะพร้าว 1 : 1 : 1 : 1
สูตรที่ 2 ดินร่วน : ปุ๋ยคอก : ใบไม้ผุ 1 : 1 : 2
สูตรที่ 3 ดินร่วน : ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยหมัก : แกลบดิบ 4 : 2 : 2 : 1
สูตรที่ 4 ดินร่วน : ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก : ขี้เถ้าแกลบหรือแกลบดิบ 3 : 1 : 1

• วัสดุปักชำ
ทรายหยาบ : ขี้เถ้าแกลบ 1 : 1
• เพาะเมล็ด

ทราย : ขุยมะพร้าว 1 : 1
Tips
1. การใช้ดินถุงสำหรับไม้กระถาง แนะนำให้นำมาคลุกเคล้ากับกาบมะพร้าวสับและปุ๋ยคอก เพื่อช่วยกักความชื้นและเพิ่มธาตุอาหารโดยใส่ปุ๋ยละลายช้าร่วมด้วย สังเกตว่า เมื่อใช้ไปสักพักวัสดุจะมีการยุบตัว ให้เติมดินผสมและปุ๋ยคอกเพิ่มเติม

2. หากดินในสวนมีคุณภาพไม่ดีนัก แนะนำให้ใช้ดินถุงปรับปรุงคุณภาพโดยกำหนดตำแหน่งแปลง จากนั้นขุดดินให้ลึกตามความต้องการเช่น ปลูกไม้พุ่มไม้คลุมดินให้ขุดลึก 25 - 40 เซนติเมตร ส่วนต้นไม้ใหญ่ขุดหลุมปลูกกว้างและลึกประมาณ 1 - 1.20 เมตร ให้ก้นหลุมแคบกว่าปากหลุมเล็กน้อย รองก้นแปลงหรือหลุมด้วยปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมี(สูตรเสมอ 15 - 15 - 15 หรือตัวกลางสูง 12 - 24 - 12) หว่านบางๆก่อนใส่ดินถุงลงไปหนาประมาณ 1 - 2 นิ้วแล้วจึงปลูกพืชตามลำดับ

3. หากดินถุงที่ซื้อมาเต็มไปด้วยวัสดุอื่นๆ มากกว่าเนื้อดินก่อนใช้งานแนะนำให้ผสมปุ๋ยคอกและเศษใบไม้แห้งเพิ่มเติมลงไปเพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มธาตุอาหาร


ที่มา
http://www.baanlaesuanfair.com/Article.aspx


.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11555

ตอบตอบ: 22/06/2017 8:02 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

.....
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
แสดงการตอบก่อนนี้:   
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    MySite.com หน้ากระดานข่าวหลัก -> ถาม-ตอบ ปัญหาการเกษตร ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
หน้า 1 จากทั้งหมด 1

 
ไปยัง:  
คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ใหม่ในกระดานนี้
คุณ สามารถ ตอบกระทู้ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลบการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลงคะแนนในแบบสำรวจในกระดานนี้

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group
Forums ©