-
++kasetloongkim.com++
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ
MySite.com :: ดูกระทู้ - เครื่องโรยเมล็ดข้าว ..
 คำถามถามบ่อยของกระดานข่าวคำถามถามบ่อยของกระดานข่าว   ค้นหาค้นหา   กลุ่มผู้ใช้งานกลุ่มผู้ใช้งาน   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว   เข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณเข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณ   เข้าระบบเข้าระบบ 

เครื่องโรยเมล็ดข้าว ..
ไปที่หน้า 1, 2  ถัดไป
 
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    MySite.com หน้ากระดานข่าวหลัก -> ถาม-ตอบ ปัญหาการเกษตร
ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป  
ผู้ส่ง ข้อความ
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 23/05/2011 5:53 am    ชื่อกระทู้: เครื่องโรยเมล็ดข้าว .. ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

เครื่องโรยเมล็ดข้าว


แม้ว่าการทำนาดำจะให้ผลผลิตปริมาณสูงกว่าการทำนาหว่าน แต่ก็ต้องเสียค่าจ้างแรงงานคนค่อนข้างสูง
ซึ่งมีค่าใช้จ่ายรวมเมล็ดพันธุ์อยู่ที่ไร่ละ 1,300 บาท สูงกว่านาหว่านเท่าตัว

ขณะนี้ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างได้เริ่มทำนาแบบใหม่เรียกว่า "การทำนาโรย" โดยใช้เครื่องโรยเมล็ดข้าว
ที่คิดค้นโดย "คุณลุงประเทือง ศรีสุข" ชาวนาที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพิษณุโลก
กรมการข้าว ได้ส่งเสริมให้นำไปใช้ มีต้นทุนการปลูกข้าวไร่ละไม่เกิน 400 บาท

เครื่องโรยข้าวดังกล่าวมีชุดต้นกำลัง มีอุปกรณ์โรยข้าวอยู่ด้านหน้าเครื่อง ทำจากท่อ พีวีซี.เจาะเป็นหลุมเพื่อ
ให้เมล็ดข้าวหล่นลงในนา มีสายพานในการขับเคลื่อนแกนหมุนสำหรับโรยเมล็ดข้าว ส่วนรางบรรจุเมล็ดข้าว
ด้านบนสามารถปรับเพื่อควบคุมปริมาณข้าวที่จะหยอดลงในนาได้ เครื่องมี 3 ล้อ ทำจากท่อเหล็กที่เชื่อม
วงแหวนไว้โดยรอบ ช่วยให้เคลื่อนที่ในดินเลนได้สะดวก

พื้นที่นำร่องที่ตำบลท่าช้าง อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกชาวนาได้ "ทำนาโรย" โดยปลูกข้าวพันธุ์
พิษณุโลก 2 ด้วยเครื่องโรยข้าวดังกล่าว พบว่า วิธีนี้ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวเพียงไร่ละ 10 กิโลกรัมเท่านั้น ซึ่ง
น้อยกว่าการทำนาหว่านของชาวนาทั่วไป 2 ถึง 3 เท่าตัว ต้นข้าวที่ได้เจริญเติบโตเรียงแถวเป็นระเบียบ
ทำให้ต้นแตกกอได้ดีคล้ายกับนาดำ สามารถถอนพันธุ์ข้าวปนออกได้ง่าย และใช้ปุ๋ยในปริมาณน้อยกว่า
นาหว่าน 30 ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ ได้ผลผลิตข้าวไร่ละ 800 ถึง 900 กิโลกรัม ซึ่งน้อยกว่านาดำเล็ก
น้อย แต่เมื่อหักต้นทุนแล้วพบว่าให้ผลกำไรมากกว่า

ติดต่อ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพิษณุโลก อ.วังทอง จ.พิษณุโลก โทร.(055)311-018


http://www.ch7.com/news/news_thailand_detail.aspx?c=2&p=8&d=132003

http://www.nicaonline.com/webboard/index.php?topic=23252.msg30296;topicseen


แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย kimzagass เมื่อ 04/11/2012 8:20 am, แก้ไขทั้งหมด 8 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 23/05/2011 5:54 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

คลิปเครื่องโรยเมล็ดข้าว....


http://www.youtube.com/watch?v=OtlkJT47QYQ


http://www.youtube.com/watch?v=OtlkJT47QYQ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 23/05/2011 8:02 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

Rice Drum Seeder










คลิกไปดูภาพขนาดใหญ่ ....
http://www.alibaba.com/product/vn105142654-104807707-101242762/Rice_Drum_Seeder.html?tracelog=fmotherproduct1
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 23/05/2011 8:40 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

Drum Seeder


คลิบ วีดิโอ เครื่องหยอดเมล็ดข้าว

http://www.youtube.com/watch?v=MvJofXGIymU
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 23/05/2011 9:01 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)



http://pinoynegosyo.blogspot.com/2007/02/equipment-and-machinery-for-rice.html

http://www.google.co.th/imglanding?q=Rice%20Drum%20Seeder&imgurl=http://www.ipipotash.org/e-ifc/2008-17/image/rf2-p3.jpg&imgrefurl=http://www.ipipotash.org/en/eifc/2008/17/3&usg=__EqyO-xUIAkpdIDhHJhPjzMARqek=&h=165&w=220&sz=13&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=14piU6VG-S_osM:&tbnh=80&tbnw=107&prev=/search%3Fq%3DRice%2BDrum%2BSeeder%26hl%3Dth%26sa%3DG%26biw%3D1003%26bih%3D568%26tbm%3Disch%26prmd%3Divns&ei=32baTYCECYXsrQemmJ2BBg&sa=G&biw=1003&bih=568&tbm=isch&prmd=ivns&start=0#tbnid=KgUkoplOmRAP-M&start=1








http://www.google.co.th/imglanding?q=Rice%20Drum%20Seeder&imgurl=http://www.ipipotash.org/e-ifc/2008-17/image/rf2-p3.jpg&imgrefurl=http://www.ipipotash.org/en/eifc/2008/17/3&usg=__EqyO-xUIAkpdIDhHJhPjzMARqek=&h=165&w=220&sz=13&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=14piU6VG-S_osM:&tbnh=80&tbnw=107&prev=/search%3Fq%3DRice%2BDrum%2BSeeder%26hl%3Dth%26sa%3DG%26biw%3D1003%26bih%3D568%26tbm%3Disch%26prmd%3Divns&ei=32baTYCECYXsrQemmJ2BBg&sa=G&biw=1003&bih=568&tbm=isch&prmd=ivns&start=0#tbnid=kEHtRJ9xgK1j2M&start=4
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 23/05/2011 9:06 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)




http://www.inca.com.ph/whatsnew.shtml
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 23/05/2011 9:09 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

Direct seeding and weed control for rainfed and irrigated rice in northwest Bangladesh





http://beta.irri.org/networks15/?option=com_content&task=view&id=126&Itemid=29


กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 26/05/2011 7:55 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)




http://www.nanagarden.com/รถเข็นหยอดเมล็ด-134106-4.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 26/05/2011 8:06 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)




เครื่องปลูกข้าว 4 แถวแบบไม่เตรียมดินใช้ไถเดินตาม


การปลูกข้าวแบบหยอดเป็นแถวโดยไม่เตรียมดิน เหมาะกับสภาวะอากาศแห้งแล้ง จะได้ผลผลิตต่ำสำหรับการปลูกข้าว
โดยการเปิดหน้าดินให้เป็นร่อง แล้วโรยเมล็ดข้าว จะทำให้การเจริญเติบโตของต้นข้าวทนความแห้งแล้งได้ดี เพราะรากของ
ต้นข้าวดูดความชื้นได้ลึกกว่า

นอกจากนั้น หน้าดินส่วนที่ไม่มีการไถพรวนจะมีเศษวัชพืชหรือตอซังปกคลุมอยู่ ช่วยลดการระเหยของน้ำจากดิน

สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม ได้ออกแบบพัฒนาเครื่องปลูกข้าว 4 แถว แบบไม่เตรียมดิน โดยตัวเปิดร่องเป็น
แบบจานเดี่ยว ระยะห่างระหว่างแถว 30 เซนติเมตร ใช้เมล็ดพันธุ์ 9.5 กิโลกรัมต่อไร่ และใช้รถไถ 2 ล้อเป็นต้น
กำลังในการฉุดลาก ความสามารถในการทำงาน 1.2 ไร่ต่อชั่วโมง



http://www.brrd.in.th/rkb/data_009/rice_xx2-09_machine008.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 26/05/2011 8:36 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)





เครื่องดำนา


การปักดำเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้แรงงานมาก ดังนั้น สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม จึงได้นำต้นแบบเครื่องดำนาแบบต่าง ๆ
จากประเทศมาทดสอบและปรับปรุงเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทั่ว ๆ ไปในประเทศ

เครื่องดำนาที่นำมามีทั้งแบบใช้แรงคนและเครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง สำหรับเครื่องดำนาแบบใช้แรงคนปักดำครั้งละ 4-5 แถว
ระยะแถว 30 เซนติเมตร มีขีดความสามารถในการทำงาน 1.5 ไร่ต่อวัน / คน

สำหรับเครื่องดำนาแบบใช้เครื่องยนต์เบนซินขนาด 3 แรงม้า ปักดำครั้งละ 4 แถวระยะแถว 30 เซนติเมตร ใช้กล้าแบบ
เพาะในกระบะเป็นแผ่น ความสามารถในการทำงาน 6 ไร่ต่อวัน

ข้อจำกัดของเครื่องดำนาทั้งสองแบบ คือ ต้องมีการควบคุมระดับน้ำในแปลงนา และการเตรียมกล้าโดยการเพาะในถาด

สำหรับเครื่องปักดำทั้งสองแบบจะเห็นว่ายุ่งยาก และมีราคาแพงจึงไม่ได้รับความนิยมจากเกษตรกร

สำหรับหน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ผลิตเมล็ดพันธ์จำหน่ายแก่เกษตรกร เช่น ศูนย์ขยายพันธุ์พืช หรือสถาบันวิจัยข้าวให้ความ
สนใจเครื่องปักดำแบบใช้เครื่องยนต์เพราะนอกจากใช้ลดแรงงาน คนแล้วการปักดำยังช่วยให้การคัดแยกพันธุ์ปลอมปน
ออกได้ง่าย


http://www.brrd.in.th/rkb/data_009/rice_xx2-09_machine006.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 26/05/2011 8:41 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)




เครื่องหยอดข้าวแห้ง

สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม ได้ร่วมมือกับโรงงานผลิตเครื่องหยอดเมล็ดเอกชน และเครื่องหยอดข้าวแห้งแบบโรยเป็น
แถวแบบ 7 แถว และ 11 แถว เพื่อใช้ทดแทนการปลูกข้าวแบบการหว่านสำรวยการปลูกข้าวโดยใช้เครื่องหยอดข้าว ทำ
ให้การเจริญเติบโตของข้าวเป็นแถว สะดวกในการควบคุมศัตรูพืชและการเก็บเกี่ยว ข้าวที่ปลูกด้วยเครื่องหยอดจะทนต่อ
ความแห้งแล้งได้ดีกว่าการปลูกโดยวิธีหว่าน

เนื่องจาก เครื่องหยอดเมล็ดข้าวจะมีตัวเปิดร่องทำให้เมล็ดลงในร่องดินรากข้าว ซึ่งจะรับความชื้นในดินมากกว่าวิธีหว่าน
เมล็ดจะอยู่บนผิวดินที่มีความชื้นน้อยกว่า ความสามารถของเครื่องหยอดข้าวแห้งประมาณวันละ 30–40 ไร่


http://www.brrd.in.th/rkb/data_009/rice_xx2-09_machine007.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 26/05/2011 8:44 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)





เครื่องเกี่ยวข้าววางราย

การจะเพิ่มประโยชน์จากพื้นที่ในการผลิต ทำให้เกษตรกรจึงเลือกใช้เครื่องทุ่นแรงการเกษตรสำหรับพื้นที่ขนาดเล็ก
ที่ไม่สะดวกและเหมาะสมในการใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าว ซึ่งมีขนาดใหญ่

เกษตรกรเลือกใช้เครื่องเกี่ยวข้าววางราย ซึ่งมีขนาดเล็ก ใช้เครื่องยนต์เบนซินขนาด 5 แรงม้าเป็นต้นกำลัง
จะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อใช้เกี่ยวข้าวตั้งตรง ความสูง 80–120 เซนติเมตร และใช้ไม่ได้เลย
เมื่อต้นข้าวล้มติดดิน



http://www.brrd.in.th/rkb/data_009/rice_xx2-09_machine009.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 26/05/2011 8:46 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)





เครื่องนวดข้าว

ปัจจุบันมีการใช้เครื่องนวดข้าวกันอย่างแพร่หลายแต่ก็ยังมีข้อจำกัดบางประการในเรื่องของลักษณะพื้นที่มีขนาดเล็ก
การสุกแก่ของข้าวในพื้นที่เดียวกันไม่พร้อมกัน จึงทำให้ประสิทธิภาพของเครื่องเกี่ยวนวดข้าวลดลงและมีต้นทุน
สูงขึ้น ดังนั้นเกษตรกรจึงนิยมเกี่ยวด้วยมือหรือเครื่องเกี่ยวข้าววางรายขนาดเล็ก แล้วนำมานวดด้วยเครื่องนวดข้าว
เครื่องนวดข้าวที่เกษตรกรนิยมใช้กันทั่วไปมีความยาวลูกนวดขนาด 5 ฟุต ลักษณะการเคลื่อนที่ของข้าวผ่านลูกนวด
เป็นแบบไหลตามแกน ใช้เครื่องยนต์ดีเซลขนาด 70 แรงม้า ความสามารถในการทำงานประมาณ 2.5 ตันต่อชั่วโมง


http://www.brrd.in.th/rkb/data_009/rice_xx2-09_machine010.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 26/05/2011 8:50 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)





เครื่องเกี่ยวนวดข้าว

ปัจจุบันเกษตรกรสามารถทำนาได้ตลอดปี โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตชลประทาน โดยเลือกใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าวใน
การเก็บเกี่ยวข้าวกันมากขึ้น เพราะรวดเร็วทำให้เกษตรกรสามารถใช้พื้นที่เพาะปลูกข้าวตลอดปีเครื่องเกี่ยวนวดข้าว
ผลิตโดยโรงงานเอกชน มีสถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรมสนับสนุนให้คำแนะนำในด้านเทคนิค ในการผลิตและพัฒนา
ความสามารถในการทำงาน ประมาณ 5 ไร่ต่อชั่วโมง ใช้เครื่องยนต์ต้นกำลัง 120 แรงม้า


http://www.brrd.in.th/rkb/data_009/rice_xx2-09_machine011.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 22/06/2012 7:14 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

การทำนาแบบหยอดหล่น..แนวคิดเพื่อปฏิวัติการทำนาไทย

(ภาคปรับปรุงใหม่)



ผมได้คิดค้นและนำเสนอวิธีการทำนาแบบหยอดหล่นไว้แล้ว แต่วันนี้ได้คิดค้นรายละเอียดที่จะทำให้สะดวกง่ายดายขึ้นกว่าก่อนอีกมาก

วิธีใหม่นี้เราจะเตรียมก้อนดินปลูกที่คลุกกับเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้ โดยคำนวณให้ได้ก้อนละ 3 เมล็ด เมื่อคลุกดินกับเมล็ดข้าวเข้ากันดีแล้ว
(ใส่น้ำให้แฉะด้วย) ก็ให้เอามาปาดลงบนกระบะไม้ ซึ่งเป็นกระบะสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีความลึกสัก 1.5 ซม. กว้าง 8 ซม. ยาว 50 ซม.
ใช้เกรียงปาดหน้าให้เรียบ จากนั้นหมักทิ้งไว้ 1 หรือ 2 คืน พอให้รากข้าวงอกเป็นตุ่ม

จากนั้นให้ทำเป็นเม็ดดินด้วยการกดด้วย “เครื่องทำเม็ด” ซึ่งเครื่องนี้เหมือนกับเครื่องทำเม็ดยาไทยโบราณทุกประการ เพียงแต่จะใหญ่กว่า
ตามสัดส่วนของเม็ด ใครไม่เคยเห็นไปหาดูได้ตามพิพิธภัณฑ์ หรือ ร้านทำยาโบราณ ลักษณะเป็นหลอดทรงกระบอก 4 หลอดเรียง
กัน เมื่อกดลงไปแล้วก็ดึงขึ้นมา แล้วเอามือกดคันชักให้ลูกเลื่อนวิ่งเข้าไปในเบ้าหลอดทรงกระบอกนั้น เพื่อดันเอาเม็ดดินออกมา ดังนั้น
เม็ดดินนี้จะมีลักษณะเป็นทรงกระบอก (หรือ เป็นเส้นกลมที่ตัดเป็นท่อนๆ นั่นเอง)

เครื่องทำเม็ดนี้จะทำได้ครั้งละ 4 เม็ด หรืออาจนำมาต่อกันเป็น 8 เม็ด 12 เม็ดก็ได้ แต่จะหนักแรงมากขึ้น เม็ดที่กดได้นี้นำไปเรียงไว้บนแผ่น
ไม้อัดที่เบาๆ ให้เป็นแถวตอนเรียง 4 ไม้นี้ก็ควรกว้าง 8 ยาว 50 เท่ากับกระบะ เมื่อเต็มแผ่นแล้วก็วางซ้อนกันเป็นชั้นๆ ชุดละสัก 5 ชั้น

จากนั้นเอาไปหยอดในนาที่เตรียมเทือกไว้แล้ว (เทือกคือพื้นนาแฉะที่ปาดเรียบ) วิธีหยอด คือ เอาแผ่นไม้ที่เรียงเม็ดดินไว้มาห้อยคอไว้ (แบบ
พวกขายลอตเตอรี) จากนั้นเอาเครื่องหยอดมาห้อยคอทับลงไป โดยเครื่องหยอดนี้ไม่ใช่อะไร เป็นเพียงไม้ระแนงเรียวๆ ยาว 1 เมตร มีเชือก
สีผูกห้อยไว้เป็นที่หมายตา โดยผูกเป็นระยะห่าง 25 ซม. จึงมีการผูก 4 จุด

การหยอดให้เดินหยอด โดยหยอดเม็ดดินลงไปตรงที่ผูกเชือกสีไว้ เม็ดดิน 4 เม็ดที่เรียงไว้บนกระดานก็หยอดได้ 4 หลุมพอดี ระยะห่าง 25
ซม. เท่ากัน จากนั้นก็เดินไปข้างหน้า 25 ซม. หยอดอีก 4 เม็ด ทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆ หรือ อาจหยอดครั้งและ 8 หรือ 12 เม็ดก็ได้ โดยทำไม้
หยอด 2-3 อันต่อเรียงกันในแนวระนาบ 3 ไม้หยอด ก็ห่างกัน 50 ซม. ก็ยังอยู่ในช่วงแขนที่จะทำการหยอดได้ถึง


ข้อดีของวิธีนี้คือ
1) สะดวก รวดเร็ว ราคาถูก และไม่เหนื่อยยากมากนัก

2) เม็ดข้าวจะตกจมลงไปลึกประมาณ 1 ซม. จากผิวดิน (แจกแรงกระแทกหล่นของเม็ดดิน) ทำให้รากข้าวงอกได้กำลังดี มีรากแข็งแรง
(ไม่ตื้นเกินไปแบบนาหว่าน) อีกทั้งรากไม่ต้องถูกกระทบกระเทือนจากการถอนและปักดำ แม้การทำกล้าแบบต้นเดี่ยวก็ยังมีการถอนทำให้
กระเทือนราก) เมื่อรากแข็งแรง ต้นข้าวก็แข็งแรง ทำให้ทนทานต่อโรคพืชสูงกว่าปกติ

3) ถ้าเราเตรียมดินเม็ดด้วยปุ๋ยที่เข้มข้น ปุ๋ยจะไม่กระจายไปที่อื่น อยู่ที่รากข้าวเท่านั้น ทำให้รากงอกได้ดีและแข็งแรงยิ่งขึ้น

ถ้าเราคำนวณให้มี 3 เมล็ดข้าว ใน 1 เม็ดดิน และถ้าอัตราการงอกเป็น 80% เราจะได้การงอก ดังนี้ คือ

- ข้าวงอก 3 ต้น 51.2%,
- ข้าวงอก 2 ต้น 38.4%,
- ข้าวงอกต้นเดียว 9.6% และ
- ข้าวไม่ งอกเลย 0.8%

ซึ่งถือว่ายอมรับได้ เพราะข้าวต้นเดียวนั้นอาจแตกกอได้ดีจนมีผลผลิตเท่า เทียมกับ 2 ต้น และ 3 ต้นในที่สุด ส่วนข้าวไม่งอกมีน้อยมาก

และอย่าลืมการทำนาชีวภาพ 100% (ไม่ใช้แม้สารชีวภาพ เช่น สะเดา) ด้วยการเลี้ยงกบเขียดในนา กบกินแมลงใหญ่ เขียดตัวน้อยๆ
กินแมลงเล็ก รวมทั้งเพลี้ยต่างๆ ไม่เหลือหรอหรือ เหลือเล็กน้อย แต่ยอมรับได้ มูลกบเขียดเป็นปุ๋ยให้นาโดยธรรมชาติ (กลายเป็นว่า
แมลงเป็นมิตรของพืช ไม่ใช่ศัตรูพืชอีกต่อไป)

น้ำในนาก็ใช้เลี้ยงปลาได้หลายสกุล (เลือกกบชนิดที่ไม่กินปลา) สำหรับหอยปูอาจเลี้ยงปลาไหลให้ช่วยกำจัด (หรือสัตว์น้ำอื่นๆ ที่กิน
หอยปู) อีกทั้งน้ำในนายังอาจสามารถปลูกพืชคลุมน้ำได้อีก ซึ่งถ้าวิจัยให้ดีอาจพบพันธุ์ที่ช่วยเสริมให้ข้าวโตเร็วขึ้นและให้ผลผลิตเพิ่ม
ขึ้นด้วยซ้ำไป เพราะช่วยตรึงสารลงในดิน (เช่น อาจเป็นผักบุ้ง สันตะวา กระจอง ผักกุ่ม ผักหนามสาหร่าย ผำ บัดเขียด ผักแว่น ผักใบพาย
ก็เป็นได้ ...บรรดาพืชน้ำทั้งหลาย) อีกทั้งผักพวกนี้ยังอาจช่วยสร้างไรน้ำให้ปลาได้กินอีกด้วย

การขจัดวัชพืชในนานั้น ควรวิจัยหาพันธ์สัตว์ที่กินหญ้าทุกชนิด ยกเว้นต้นข้าวพองอกออกมาเป็นต้นอ่อนก็กินหมด อาจเป็นปลาบางสายพันธุ์
หรือ เต่าตัวเล็ก ก็เป็นได้

ถ้าทำนาแบบนี้อาจจะได้ผลผลิตสูง ราคาดี (เพราะชีวภาพ) ต้นทุนต่ำ ทั้งคนปลูกคนกินมีสุขภาพดี ยังขายปลา ขายกบ ได้อีก กำไร
สุทธิน่าจะสูงกว่าทำนาแบบเดิมๆ 3 เท่าได้ แถมเหนื่อยน้อยกว่าอีก 2 เท่า

ช่วยกันบอกต่อ หรือ เอาไปทดลอง หรือ เอาไปคิดต่อให้ดียิ่งขึ้นนะครับ เพื่ออนาคตที่ดีของชาวนาไทย

ส่วนการใช้มดขจัดเมล็ดวัชพืชก่อนทำนานั้น ผมเชื่อว่าทำได้แน่นอน แต่ต้องการการวิจัยสักหน่อย นักวิจัยท่านใดทำออกมาได้ ก็จะมีชื่อ
เสียงมาก (อาจถึงกับได้รางวัลโนเบล) และเป็นประโยชน์ต่อชาวนาทั่วโลกเป็นอย่างมาก


...ทวิช จิตรสมบูรณ์




http://mblog.manager.co.th/withwit/tag/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%99/


แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย kimzagass เมื่อ 22/06/2012 7:19 pm, แก้ไขทั้งหมด 1 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 22/06/2012 7:16 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

เครื่องหยอดข้าวงอก









รหัสสินค้า : 150077
ชื่อสินค้า : เครื่องหยอดข้าวงอกนาน้ำตม
ประเภท : เครื่องจักรกลเกษตร
หมวด : เครื่องโรยข้าว (Sprinkler Rice)
ราคา : 5,000.00

สนใจติดต่อ คุณสวนสราดา
โทร. (081) 526-7204, (081) 682-1204


http://www.nanagarden.com/เครื่องหยอดข้าวงอกนาน้ำตม-150077-4.htm

http://www.nanagarden.com/เครื่องหยอดข้าว_drum_seeder_direct_paddy_seeder_เครื่องลากหยอดเมล็ดพันธุ์ข้าว^1-11.html

http://www.nanagarden.com/เครื่องหยอดข้าว_drum_seeder_direct_paddy_seeder_เครื่องลากหยอดเมล็ดพันธุ์ข้าว^1-11.html


.


แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย kimzagass เมื่อ 26/06/2012 9:08 am, แก้ไขทั้งหมด 1 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 22/06/2012 7:26 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

1,662. เครื่องโรยข้าวงอก...นวัตกรรมจากชาวนาไทย








ต้นทุนการผลิตข้าว ของชาวนาที่สูงขึ้นในทุกวันนี้ เกิดจากการที่ชาวนาใช้ปัจจัยการผลิตอย่างไม่เหมาะสม ทั้งในส่วนของการใช้
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มากเกินความจำเป็น การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดศัตรูข้าวอย่างไม่ถูกต้อง ทำให้สิ้นเปลืองโดยไม่เกิดประโยชน์
นอกจากนี้ อีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตข้าวเพิ่มขึ้น คือ ค่าจ้างแรงงาน ซึ่งขณะนี้แรงงานในภาคเกษตรมีปัญหาขาดแคลน
ทั้งยังมีการปรับอัตราค่าจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนส่งผลต่อรายได้ของชาวนาทั้งสิ้น เนื่องจากถ้าต้นทุนการผลิตยัง
คงมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าชาวนาจะสามารถจำหน่ายข้าวได้ในราคาที่สูงขึ้น ก็ยังไม่สามารถเพิ่มช่องว่างระหว่างต้นทุนกับ
รายได้ให้ห่างกันไปได้มากกว่าเดิม

นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ อธิบดีกรมการข้าว กล่าวว่า แนวทางการแก้ไขปัญหาของชาวนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนนั้น จะ
ต้องเริ่มด้วยการปรับระบบการจัดการแปลงนา โดยเน้นการลดต้นทุน เพิ่มศักยภาพการผลิต โดยวิธีการหนึ่งของการลดต้นทุนการ
ผลิตข้าวที่ได้รับความสนใจจากชาวนาอย่างมาก คือ “เครื่องโรยข้าวงอก” ซึ่งเป็นนวัตกรรมจากภูมิปัญญาชาวบ้านของ นายเลียน
อ่อนสุระทุม สมาชิกกลุ่มผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านดงสวรรค์ จังหวัดสกลนคร ที่ใครเห็นจะต้องทึ่งกับความคิดที่สามารถนำไปสู่การ
ปฏิบัติได้จริง ที่สำคัญสามารถลดต้นทุนการผลิตข้าวได้ ควบคู่กับแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานได้เป็นอย่างดี

ที่มาของเครื่องโรยข้าวงอกเกิดจากการที่นายเลียน ได้เห็นเครื่องโรยแถวเมล็ดพันธุ์ข้าวแห้งที่มีการขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ใช้น้ำมัน
จึงเกิดความคิดว่าจะทำอย่างไรที่จะทำเครื่องโรยข้าวงอกได้เองที่ไม่ต้องอาศัยเครื่องยนต์ก่อให้เกิดมลพิษและประหยัดต้นทุนการ
ผลิต โดยเฉพาะการใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ข้าวน้อยลงและทดแทนแรงงานปักดำที่นับวันจะมีค่าแรงสูงขึ้น

ดังนั้น นายเลียนจึงได้ประดิษฐ์คิดค้นเครื่องโรยแถวเมล็ดพันธุ์ข้าวงอกขึ้น เมื่อปี 2554 สำหรับวิธีทำก็ง่ายเพียงใช้ท่อ พีวีซี มาเจาะ
รูเป็นระยะเท่า ๆ กันเพื่อเป็นช่องทางออกของเมล็ดพันธุ์ข้าวงอก แล้วต่อท่อ พีวีซี ขนาดเล็กดัดให้โค้งงอสำหรับเป็นที่จับในการลากจูง
จากนั้นใช้แกนเหล็กเป็นตัวยึดท่อ พีวีซี และมีวงล้อจักรยานเป็นตัวลากจูง เมื่อมีการลากจูงจะทำให้ท่อ พีวีซี ที่บรรจุเมล็ดพันธุ์ข้าวงอก
หมุนตัว ทำให้เมล็ดพันธุ์ข้าวถูกโรยออกไปเป็นแถวตามที่มีการเจาะรูไว้ ซึ่งข้าวที่งอกขึ้นมานั้นจะมีลักษณะเหมือนกับการปักดำ

นายสมบัติ ทัศนารักษ์ ผอ.ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสกลนคร กล่าวถึงเครื่องโรยข้าวงอกว่า ทางศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสกลนคร เล็งเห็นว่าภูมิปัญญา
ของนายเลียน สามารถนำมาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ต่อชาวนาท่านอื่น จึงได้ขอนำเครื่องโรยแถวเมล็ดพันธุ์ข้าวงอกมาปรับปรุงพัฒนาเพื่อ
สร้างเป็นเครื่องโรยข้าวงอกต้นแบบที่เพิ่มประสิทธิภาพในการโรยเมล็ดพันธุ์ข้าวได้พื้นที่เพิ่มขึ้นและมีความแข็งแรงทนทานมากขึ้น ด้วย
เครื่องโรยข้าวงอกที่มีหน้ากว้าง 2 เมตร สามารถโรยเมล็ดพันธุ์ได้ในคราวเดียวถึง 10 แถว แต่ละแถวมีระยะห่าง 20 เซนติเมตร และระยะ
การโรยตัวของกลุ่มเมล็ดพันธุ์ข้าวงอกจะห่างกันประมาณ 20 เซนติเมตร ดังนั้น การปลูกข้าวด้วยเครื่องโรยข้าวงอกในพื้นที่ 1 ไร่ จะใช้เมล็ด
พันธุ์ข้าวประมาณ 8 กิโลกรัม และใช้แรงงานคนเพียง 1 คน ก็สามารถปลูกข้าวได้ประมาณ 4 ไร่/วัน ต้นทุนการปลูกข้าวจะอยู่ที่ประมาณ
320 บาท/ไร่ ขณะที่การทำนาหว่าน ชาวนาจะใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวมากถึง 30 กิโลกรัม/ไร่ ต้นทุนการผลิตจึงอยู่ที่ประมาณ 1,260 บาท/ไร่

นอกจากช่วยในการลดต้นทุนการผลิตลงได้อย่างชัดเจนแล้ว เครื่องโรยข้าวงอกนี้จะทำให้ข้าวขึ้นเป็นกอ มีการเว้นช่องระหว่างกอข้าวทำให้
แสงแดดส่องผ่านได้ทั่วถึง อีกทั้งข้าวขึ้นไม่หนาแน่น เป็นผลดีในการช่วยลดปัญหาโรคและแมลงศัตรูข้าวได้อีกทางหนึ่ง ที่สำคัญคือเครื่อง
โรยข้าวงอกนี้ ชาวนาสามารถทำเองได้ง่ายและราคาไม่แพง ซึ่งต้นทุนการทำเครื่องนี้อยู่ที่ประมาณ 1,000 บาทเท่านั้น เมื่อเปรียบเทียบกับ
ต้นทุนค่าแรงงานที่ต้องเสียไป

ในแต่ละฤดูกาลผลิตนับว่าคุ้มค่ามาก แต่อย่างไรก็ดี เครื่องนี้เหมาะกับการทำนาในพื้นที่ไม่ใหญ่นัก ชาวนาสามารถทำได้ด้วยตนเองไม่
ต้องพึ่งพาแรงงานภายนอก และมีเป้าหมายที่ต้องการลดต้นทุนการผลิตเป็นประการสำคัญ

สำหรับชาวนาที่สนใจเครื่องโรยข้าวงอก สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสกลนคร เลขที่ 99 หมู่ 8 ต.ม่วงไข่ อ.พังโคน
จ.สกลนคร โทรศัพท์ (042) 728-517-8 ซึ่งทางศูนย์ฯ ยินดีถ่ายทอดวิธีการผลิตเครื่องโรยข้าวงอก ให้ชาวนาสำหรับนำไปใช้ในแปลงนา
ของตนเองตามแนวทางของนายเลียน ผู้คิดค้นเท่านั้น ไม่สนับสนุนให้นำไปผลิตเพื่อการค้า เพราะจะเป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา.





http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.dailynews.co.th/sites/default/files/imagecache/620x245/photos/119082/0.jpg&imgrefurl=http://www.dailynews.co.th/agriculture/119082&usg=__2XRhqXuLLCsdHiQdPGa41MiTOL0=&h=256&w=340&sz=26&hl=th&start=34&zoom=1&tbnid=JAcrMInp9UJynM:&tbnh=90&tbnw=119&ei=bkjkT8qzJdCxrAfW7NWKCQ&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B7%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%2582%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2581%26start%3D20%26hl%3Dth%26sa%3DN%26tbm%3Disch&itbs=1
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 31/10/2012 5:02 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

Eyes on the prize


Written by Ma. Lizbeth Baroña-Edra











Rice farmers all over the world are using new and improved
technologies. And, to some degree, these technologies have
helped keep many of the world’s poor from being pushed further
down the road to poverty. An example is IR8, the media
dubbed “miracle rice,” developed by the International Rice
Research Institute (IRRI) in the mid-1960s (see Breeding
history). Average rice yields before IR8 was available to
farmers were 2 tons per hectare. The arrival of IR8, which
produced yields that could be 9.5 to 10.5 tons per hectare,
changed the trajectory of humanity’s poor, especially in Asia.
This pivotal rice variety has found a deserved niche in the
annals of humanity’s efforts to feed itself as part of the Green
Revolution. “In the early years following the Green Revolution,
we did not have to pay much attention to profit,” says Kei
Kajisa, IRRI senior scientist and socioeconomist from the
International Rice Research Institute (IRRI). “Yield-maximizing
recommendations matched farmers’ profit maximization
objectives, too. Today, with different factors affecting rice-
farming practices, high yield does not necessarily result in high
profit. Sometimes, whether farmers make a profit or not is tied
to their management or the choices that they make.”

As time marches on, it has become clear that there is no
shortage of lessons to be learned and, consequently, there are
opportunities to grab and exploit. Achim Dobermann, IRRI’s
deputy director general for research, thinks that if a given
technology helps farmers to garner robust profits, it will spread
quickly. “But, we have to understand that farmers make
decisions on how to maximize profit and minimize risk,” says
Dr. Dobermann, “and this decision-making happens for a whole
sequence of crop management operations. These decisions can
lead to incremental gains–or losses–as the success of a single
technology may also depend on other decisions farmers make.”


Today’s weighing game
Dr. Kajisa and his team have been studying farming
communities in the Philippines, China, and India, as well as
getting insights and trends from four decades' worth of grass-
roots socioeconomic information.


“Now, some farmers choose field practices to maximize their
profit, but these practices do not necessarily result in
increasing their yield,” says Dr. Kajisa. “When IRRI was
established in 1960, there were adequate resources (such as
water and labor), but technology was lacking. Today, we see a
reversal inthat many technologies are available, but water and
labor are becoming alarmingly scarcer. In addition, there has
been a sudden urgency to develop modern rice varieties that
can cope with


Dr. Kajisa points out that when water becomes scarce in a
farming community, it is important for members of that
community towork together to maintain their water source and
to develop a water rotation scheme among themselves.“There
is also potential to use volumetric pricing for efficient water
use within a community,” he says. “With this, farmers will pay
less when using less water and pay more for increasedwater
use, which should be offset by a higher crop yield.


"On the labor-scarcity front, Dr. Kajisa’s study found a new
developingtrend in farmers’ practices—the casualization of
labor.There is now a general decline in attached or permanent
labor and an increase in outsourcing or nonpersonalized labor
arrangements. This is becoming common in many parts of
South and Southeast Asia.


“Casualization is problematic because the rice crop requires
rigorous attention,” says Dr. Kajisa.“Some farming practices are
better implemented when farmers are present themselves or
they have trusted permanent laborers on site who will conduct
activities honestly.”


Ultimately, most farmers will find ways to cope with water and
labor scarcities to maximize their profits, but yields might
suffer as a result. As Dr. Kajisa observed in China, one location
had a successful community-managed water source but high
labor costs due to scarcity. So, to save money, the farmers
decided to broadcast or direct-seed instead of transplanting
seedlings. Because of this decision, yields decreased, but, in
the end, the labor savings still allowed the farmers to turn a
profit.


In the Philippines, farmers are also inclined to direct-seed their
crop. “They decide to do this, not because it is a proven
practice resulting in high yield, but because it saves on labor
costs,” says Piedad Piedad Moya, IRRI

socioeconomist. “Transplanting seedlings would force them to
hire more laborers to do the job. With direct seeding, they can
sow the seed themselves in 1 day.” Ms. Moya, a member of Dr.
Kajisa’s team, is also involved in IRRI’s decades-old household
survey designed to gather grass-roots information on farmers
from all over Asia.


For farmers, not scientists
The findings of Dr. Kajisa’s team draw attention to what drives
a farming community to come together to manage a scarce
resource such as water or how to cope with rising labor costs.
These decisions are very much shaped by the fact that
everyone is no stranger to profit. This is logical because
farmers’ take-home income translates into having adequate
food, education, and medical security for their families.


These findings have given researchers and extension workers
something to think about.


“My own rule-of-thumb has always been that most farmers will
be interested in a new technology only if it is easy to
understand and apply—and if it increases their profit by at
least US$50 per hectare,” says Dr. Dobermann. “I have
observed that many technologies may sound good in theory or
do well in a carefully designed research trial, but they don’t
necessarily meet farmers’ expectations in the field.”


IRRI researchers are not only breeding new rice varieties that
are high-yielding, are stress-tolerant, and have good grain
quality, but they are also developing and evaluating crop
management technologies that are environmentally sustainable
and cost reducing.


“Farmers are always keen to look for better ways to grow their
crop, as long as they have access to new information,” explains
Dr. Dobermann. “One of IRRI’s roles is to get this information
to them as rapidly as possible. We need to use the available
information channels and forge private and public partnerships
to make sure that what we do is driven by the needs of
farmers, not the needs of scientists.”


IRRI’s research chief thinks that the Institute needs to focus
more and more on finding solutions that involve truly
integrated crop and cropping systems management under real-
world field conditions.




http://www.irri.org/index.php?option=com_k2&view=item&id=12345:eyes-on-the-prize&lang=en
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 31/10/2012 5:21 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

TO แดง.....

งานเข้า 1 แปลหน่อยนะ.....


--------------------------------------------------------------------------------------------------------------


สวัสดีครับลุงคิม ...ยัยเฉิ่ม และ สมช.สีสันชีวิตไทยทุกท่าน


งานนี้ หิน จริง ๆ ครับลุง (ช่างสรรหามานำเสนอ สมช.จริง ๆ )เพราะ แม่เจ้าประคุณ ลิซเบท บาโร่น่า อีดร้า เขียนเป็นภาษาวิชาการ แล้วผมก็
ไม่ใช่นักวิชาการ แล้วก็ไม่ได้เป็นชาวนามืออาชีพ เพิ่งจะปลูกข้าวเป็นครั้งแรกในชีวิต เมื่อเดือน มิ.ย. 55 ที่ผ่านมานี้ ยังไม่ค่อยรู้จัก "ภาษาข้าว"
ว่าอันนี้ควรเรียกว่าอะไร มันจึงทำให้แปลยาก คงเปิด Dict.กันมือเป็นลิงละงานนี้ .....ยังไงก็ตาม ผมขออนุญาตแปลเป็นภาษาชาวบ้านพอแค่
รู้เรื่องนะครับ ถ้าไม่อย่างนั้น คนแปลก็จะหลับ คนอ่านก็จะหลับ สุดท้าย ลุงคิมนั่นแหละจะหลับก่อนใคร.....ขนาดว่าผมท้องเสียอยู่นะ
พออ่านบทความ...ขี้หด ตดหาย ไปเลย ....


พูดถึงท้องเสีย บางครั้งกินยาหลายอย่าง (ยาธาตุน้ำแดง น้ำขาว อีโมเดี้ยม โลโมทิล น๊อกซี่ ยาฆ่าเชื้อสารพัด) มันก็ไม่หาย สุดท้ายมาหาย
เพราะ ยาที่เพื่อนกะเหรี่ยงบนดอยให้มา 1 ก้อน โตประมาณ 2 หัวแม่มือ เป็นยาที่ไม่มี อย. เพราะมันคือ ฝิ่นครับ เอามาฝนกับน้ำบนฝาหม้อดิน
เผา กินไป 3 ถ้วยตะลัย หายเป็นปลิดทิ้ง ....คนเหนือคนชาวเขาชาวดอยเค้าจะกินฝิ่นที่ฝนกับน้ำ กินเป็นยาแก้ท้องเสีย แก้ปวดเมื่อย ...กินแค่
พอหายแล้วก็หยุด แปลกนะครับ กินฝิ่นจะไม่ติด นอกจากสูบถึงจะติด...จะเอารูปมาลงให้ดูก็กลัว ตร.ครับ ก้อนสีดำเหมือนยางมะตอยนั่นแหละ


รายการสีสันชีวิตไทย เป็นรายการที่มีสีสัน ถ้าขาดสีสัน รายการนี้จะไม่สดใส เรามาดูสีสันจากธรรมชาติ กับสีสันที่ทำเลียนแบบธรรมชาติกัน
หน่อยนะครับ



สีจากธรรมชาติ



สีที่ทำเลียนแบบธรรมชาติ



1. Eyes on the prize
Written by Ma. Lizbeth Barona-Edra
1. ดวงตาที่ฝันถึงรางวัล (ฟังแค่ชื่อเรื่องก็มึนตึ๊บแล้ว)
เขียนโดย Ma Lizbeth Barona-Edra


ชาวนาผู้ปลูกข้าวทั่วโลกกำลังหันมาปรับปรุงวิธีการที่จะนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ และในบางระดับขั้น (some degree) ของการ
ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ ได้ช่วยฉุด (helped keep) ให้ชาวนาที่ยากจนจากหลายแห่งในโลก ให้ดีขึ้นจากการที่เคยถูกผลักดันให้จมดิ่งลง
ไปสู่วิถีทางแห่งความทุกข์และยากจน (ด้วยการเป็นหนี้สินล้นพ้นตัว)



ตัวอย่างอันหนึ่ง (ของการใช้เทคโนโลยี) คือ (พันธุ์ข้าว) IR8 ที่สื่อได้ขนานนามว่า "ข้าวมหัศจรรย์" ที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันวิจัยข้าว
นานาชาติ (International Rice Research Institute - IRRI) ในช่วงกลางทศวรรษ 1960 (ดูประวัติสายพันธุ์) – ดูที่ไหนล่ะเจ๊..
ลุงคิมช่วยกรุณาค้นมาให้ สมช.ดูด้วยนะครับ เมืองไทยมีใครเอาพันธุ์มาปลูกหรือเปล่าครับลุง ....


ซึ่งแต่เดิมผลผลิตข้าวเฉลี่ยก่อนที่จะมีข้าวสายพันธุ์ IR8 ออกมา เกษตรกรที่ทำนาจะผลิตข้าวได้เพียง 2 ตันต่อเฮกตาร์ ...โอ้โฮเฮะ
แล้ว 1 เฮกตาร์ นี่มันเท่ากับกี่ไร่หว่า มาตราอังกฤษซะด้วย.. ฟุตฟิตฟอไฟ เทียบกับมาตราไทยผสมอังกฤษ.... ปู่ของปู่บอกไว้ว่า ...

12 นิ้ว (1 ฟุต)เป็น 1 คืบ.. ..2 คืบเป็น 1 ศอก)
4 ศอกเป็น 1 วา
1 วา = 2 เมตร

1 ตร.วา = 4 ตร.ม
1 ไร่ = 400 ตร.วา = 1600 ตร.เมตร

โปรดสังเกตว่า ไม่ว่าจะเป็นมาตราเมตริก หรือ มาตราอังกฤษ มาตราของไทยโบราณจะเข้าเสียบแบบนิ่มๆ
ได้ทุกมาตราเลยแหละ จาก 1 คืบ = 12 นิ้ว พอมาเป็น 1 วา = 2 เมตร (จากมาตราอังกฤษกลายเป็นมาตราเมตริกได้เลยแล้วค่า
ที่ได้ก็ใกล้เคียงตามความเป็นจริงซะด้วย เนียนจริง ๆ ) ทีนี้ก็จับแพะชนแกะ ตามสูตรการเทียบมารตราเค้าบอกว่า 1 เอเคอร์ = 2.5 ไร่
และ......

1 เฮกตาร์ = 1.5 เอเคอร์
1 เอเคอร์ = 2.5 ไร่ ทีนี้ก็ได้การละ

ดังนั้น 1.5 เอเคอร์หรือ 1 เฮกตาร์ ก็ = 3.75 ไร่ แม่นบ่ ผิดถูกบอกด้วยเน้อ นานๆ จะใช้ซักที ลืม

(.....เอกสารบางชิ้นระบุ 1 เฮกตาร์ = 6.25 ไร่ / ลุงคิม.....)

เอาเป็นว่า ก่อนที่ IRRI จะพัฒนาพันธุ์ข้าว IR8 ออกมา ชาวนาจะผลิตข้าวในเนื้อที่ 1 เฮกตาร์ หรือ 3.75 ไร่ ได้ข้าวเพียง 2 ตัน
หรือเฉลี่ยไร่ละ 533.33 กก.เท่านั้น (ชาวนาที่ไหนไม่บอก..คงจะที่ ฟิลิปปินส์ เพราะ IRRI ตั้งอยู่ที่ ฟิลิปปินส์ - แทนที่จะเป็นเมือง
ไทย)


หลังจากที่ IRRI ผลิตข้าวสายพันธุ์ IR8 ออกมาแล้ว อัตราผลตอบแทนในการผลิตจะได้เพิ่มขึ้นถึง 9.5 - 10.5 ตันต่อเฮกตาร์
(หรือ 2,533.33 ถึง 2,800 กก.ต่อไร่...ไร่ละ 2 ตันครึ่ง ถึง 2.8 ตัน... เอามาปลูกเมืองไทยได้มั๊ยครับลุง) ในการนี้จึงได้เปลี่ยน
วิถีทางโคจรของมนุษยชาติที่ยากจน โดยเฉพาะในเอเชียให้กลับฟื้นคืนดีขึ้น จุดเปลี่ยนของการค้นพบข้าวสายพันธุ์นี้สมควรจะได้
บันทึกในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติในความพยายามที่จะหาทางในการที่จะ (ผลิตพืชพันธุ์ธัญญาหารเพื่อ)เลี้ยงตัวเองอันเป็น
ส่วนหนึ่งของการปฏิวัติเขียว.....


Kei Kajisa, IRRI นักวิทยาศาสตร์อาวุโสและ นักสังคมและเศรษฐกิจ(socioeconomist – ถ้าเรียกชื่อไม่ถูกขออภัยด้วย)
จากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI) กล่าวว่า "การติดตามผลของการปฏิวัติเขียวในช่วงปีแรกๆ เราไม่ได้ให้ความสนใจที่จะแสวงหาผลกำไร
มากจนเกินไปนัก "และ" ผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้น ก็เกิดจาก (ที่ชาวนาฟัง) คำแนะนำโดยตรง ก็สอดคล้องพอดีกับความต้องการของชาวนา โดย
มีวัตถุประสงค์ที่จะทำกำไรให้สูงสุดด้วย....ณ วันนี้มีปัจจัยแตกต่างที่มีผลต่อการปฏิบัติกับนาข้าว คือ ผลตอบแทนสูงไม่ใช่เหตุจำเป็นที่
ต้องทำให้มีกำไรสูงไปด้วย บางครั้งไม่จำเป็นว่าเกษตรกรจะทำกำไรหรือไม่ แต่ขึ้นอยู่กับการยึดติดกับการจัดการหรือทางเลือกที่พวกเขาจะ
ทำของพวกเขาเอง.


ถึงเวลาที่จะต้องเดินหน้า (marches on) ได้แล้ว มันจะต้องมีความชัดเจนว่าจะไม่มีปัญหาการขาดแคลนตำราที่จะเรียนรู้และดังนั้น
จึงเป็นโอกาสที่ (ชาวนา) จะไขว่คว้าและแสวงหาประโยชน์จากการเรียนรู้ใส่ตัวเอง....


Achim Dobermann รองผู้อำนวยการ IRRI คิดว่า ถ้าได้มีเทคโนโลยีเข้าช่วยด้วย เกษตรกรจะได้รับผลกำไรเพิ่มขึ้นอย่าง (เป็นกอบ
เป็นกำ) มั่นคงแข็งแกร่งขึ้น ซึ่งมันก็จะแพร่ขยายกระจายออกไปอย่างรวดเร็ว... "แต่เราต้องเข้าใจถึงการตัดสินใจของเกษตรกร ในการที่
จะเพิ่มผลกำไร และลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุดได้อย่างไร"


ดร. Dobermann กล่าวต่อว่า "การตัดสินใจนี้จะเกิดขึ้นตามลำดับขั้นตอนการดำเนินการทั้งหมดในการจัดการกับการปลูกพืชตามฤดู
กาล การตัดสินใจนี้อาจนำไปสู่ผลกำไรที่เพิ่มขึ้น หรือไปสู่การสูญเสียก็ได้ ความสำเร็จของเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว ยังอาจขึ้นอยู่
กับการตัดสินใจของเกษตรกรอื่นๆ ที่คิดจะทำตามด้วย."


เกมที่ต้องวัดใจ ณ วันนี้ (Today’s weighing game)
ดร. Kajisa และทีมงานของเขาได้ศึกษาชุมชนเกษตรกรรมในฟิลิปปินส์, จีน และอินเดีย เช่นเดียวกับที่ได้รับข้อมูลเชิงลึกและแนวโน้มจาก
สี่ทศวรรษของข้อมูลทางด้านสังคมและเศรษฐกิจระดับรากหญ้า

"ตอนนี้เกษตรกรบางคนเลือกที่ฝึกภาคปฏิบัติ (ในนา) เพื่อเพิ่มผลกำไรของพวกเขาให้สูงที่สุด แต่การปฏิบัติเหล่านี้ไม่จำเป็นจะต้องทำให้ผล
ผลิตของพวกเขาเพิ่มขึ้น" ดร. Kajisa กล่าวว่า "เมื่อ IRRI ก่อตั้งขึ้นในปี 1960 ในตอนนั้นมีทรัพยากรทุกอย่างเพียงพอ (เช่น
น้ำ และแรงงาน) แต่ทางด้านเทคโนโลยีกลับมีไม่เพียงพอ... แต่ในทุกวันนี้เราจะเห็นการพลิกผันไปในทางตรงกันข้ามคือ IRRI มีเทคโน
โลยีจำนวนมากมายหลายหลากเท่าที่สามารถจะจัดหามาได้ แต่ทว่า น้ำและแรงงานกำลังจะกลายเป็นสัญญาณเตือนภัยที่นับวันจะหาได้
ยากยิ่ง นอกจากนี้ ยังมีเรื่องเร่งด่วนฉับพลันในการที่จะต้องพัฒนาพันธุ์ข้าวที่ทันสมัยที่สามารถรับมือกับ (สิ่งที่จะเกิดขึ้น)


ดร. Kajisa ชี้ให้เห็นว่า เมื่อน้ำกลายเป็นสิ่งที่หายากในชุมชนเกษตรกรรม จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับสมาชิกของชุมชนทุกคนที่จะต้องร่วม
มือหันหน้าเข้าหากัน (โดยทำงานด้วยกัน) เพื่อที่จะรักษาแหล่งน้ำของพวกเขาและพัฒนาโครงการหมุนเวียนการใช้น้ำขึ้นในระหว่างพวก
เขาเอง. "นอกจากนี้จะต้องให้มีศักยภาพที่จะต้องใช้มาตรการกำหนดราคาสำหรับปริมาณในการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพภายในชุมชน"
เขากล่าว "ด้วยที่กล่าวนี้เกษตรกรจะจ่ายน้อยเมื่อใช้น้ำน้อย และจ่ายมากขึ้นสำหรับการใช้ในปริมาณที่มากขึ้น ซึ่งก็จะได้รับชดเชยจากผล
ผลิตพืชที่ได้รับสูงขึ้น


"ปัญหาเฉพาะหน้าเกี่ยวกับสภาวะการขาดแคลนแรงงาน จากการศึกษา ดร. Kajisa พบวิธีการพัฒนาแบบใหม่ในการปฏิบัติของ
เกษตรกรจากคนงานที่ให้มาทำงานโดยไม่มีกำหนดเวลาที่แน่นอน (คนงานชั่วคราว - Casualization) ซึ่งขณะนี้โดยทั่วไปมีแนวโน้มที่
จะกลายเป็นแรงงานแบบมีข้อผูกพันหรือแบบถาวร และการเพิ่มขึ้นของการจ้างนอกระบบ หรือการจัดการแรงงานที่ไม่เจาะจงตัวบุคคล
ซึ่งเรื่องนี้กลายเป็นเรื่องธรรมดาในหลายส่วนของภาคใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


คนงานที่ให้มาทำงานโดยไม่มีกำหนดเวลาที่แน่นอน (Casualization) เป็นตัวปัญหาเพราะฤดูกาลของข้าวจะต้องให้ความสนใจ
อย่างเข้มงวด" ดร. Kajisa กล่าวว่า. "แนวทางการปฏิบัติของเกษตรกรบางคนจะมีวิธีดำเนินการที่จากการมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ดีกว่า
เมื่อเกษตรกรกล้าเปิดเผยตัวเอง หรือไม่ก็พวกเขาต้องมีแรงงานที่เชื่อถือได้แบบถาวรที่จะทำงานด้วยความกระตือรือล้นอย่างซื่อสัตย์."


ในท้ายที่สุด เกษตรกรส่วนใหญ่จะหาวิธีที่จะรับมือกับการขาดแคลนน้ำและการขาดแคลนแรงงานเพื่อเพิ่มผลกำไรของเขาให้มากที่สุด
แต่ผลตอบแทนอาจจะพบความเจ็บปวด แทนที่จะประสบผลสำเร็จ (ถ้าขาดน้ำและขาดแรงงานเมื่อได้ปลูกพืชไปแล้ว) ขณะที่ ดร.
Kajisa สังเกตในประเทศจีน ที่ประสบความสำเร็จจากชุมชนที่มีการจัดการกับแหล่งน้ำ แต่ต้นทุนค่าแรงงานสูง เนื่องจากความขาด
แคลน ดังนั้น เพื่อประหยัดเงิน เกษตรกรตัดสินใจที่จะใช้วิธีหว่านข้าว (Broadcast) จากเมล็ดโดยตรง แทนการเพาะกล้าแล้วเอาไป
ดำ (ปลูก) เพราะการตัดสินใจครั้งนี้อัตราผลตอบแทนอาจลดลง แต่ในท้ายที่สุดประหยัดค่าแรงงาน แต่ยังคงทำให้เกษตรกรพอ
จะมีกำไร


ในประเทศฟิลิปปินส์ เกษตรกรมีแนวโน้มที่จะใช้วิธีหว่านข้าวโดยตรง "พวกเขาตัดสินใจที่จะทำเช่นนี้ ไม่ได้หมายความว่า มันคือการ
ปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่าผลให้ผลตอบแทนสูง แต่เป็นเพราะมันจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้แรงงาน" เป็นคำกล่าวของ Piedad
Piedad Moya จาก IRRI


นักสังคมเศรษฐกิจกล่าวว่า "การหว่านกล้าจะเป็นการบังคับให้พวกเขาต้องจ้างหาคนงานเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในงานดังกล่าว เทียบกับการ
หว่านโดยตรงที่พวกเขาสามารถหว่านเมล็ดด้วยตัวเองใน 1 วัน." นางสาว Moya สมาชิกคนหนึ่งของทีม ดร. Kajisa ซึ่งมีส่วนเกี่ยว
ข้องในการสำรวจชุมชนครัวเรือนของ IRRI ที่ทำมาหลายสิบปีโดยได้รับการออกแบบเพื่อรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรระดับราก
หญ้าจากเกษตรกรทั่วเอเชีย


เฉพาะเกษตรกร -ไม่เกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์
ผลการวิจัยของทีม ดร. Kajisa ดึงดูดความสนใจกับสิ่งที่ผลักดันให้ชุมชนเกษตรกรหันมาร่วมมือกันในการจัดการทรัพยากรที่หายาก
เช่น น้ำ หรือวิธีการรับมือกับต้นทุนค่าแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้น

การตัดสินใจเหล่านี้มีความป็นรูปธรรมอย่างมากโดยความเป็นจริงที่ทุกคนไม่ใช่คนแปลกหน้าที่จะพบกับกำไร (คือ ชาวนาทุกคนต้อง
การที่จะได้ผลกำไรจากการขายข้าว) สิ่งนี้เป็นตรรกะ หรือมีเหตุผล เพราะ (ผลกำไรทำให้) เกษตรกรจะกลับบ้านด้วยการเปลี่ยนรายได้
ให้กลายเป็นอาหารอย่างเพียงพอ, เป็นการศึกษาและการรักษาความปลอดภัยทางการแพทย์สำหรับครอบครัวของพวกเขา การค้นพบ
นี้ได้รับการวิจัยและการขยายผลจากการทำงาน



บางสิ่งที่ต้องคิดเกี่ยวกับ......
"ตามกฎหัวแม่มือ (Rule-of-Thump) (เรียนมาตั้งแต่เด็ก คืนกลับไปให้อาจารย์หมดแล้ว มือไหนไม่บอก มันมีทั้งกฎมือซ้าย
และกฏมือขวา)


Rule of Thumb ความจริงแล้วไม่ได้เป็นกฎ แต่หมายถึงการกะประมาณค่าแบบให้เข้าใจง่ายๆนั่นเอง อาจหมายถึง สูตรสำเร็จแบบ
ง่ายๆก็ได้ ดังตัวอย่างในการคิด 1 เฮกเตอร์ เทียบเป็นไร่ได้ 3.75 ไร่ หรือ ไม้บรรทัด 1 ฟุต ก็คิดง่ายๆ ว่า ประมาณ 30 ซม.
ซึ่งเป็นการคำนวณโดยประมาณแบบคร่าวๆ


ตามกฎหัวแม่มือ ได้ความจริงเสมอที่ว่า ....”เกษตรกรส่วนใหญ่จะให้ความสนใจในเทคโนโลยีใหม่เฉพาะในกรณีที่มันดูเป็นเรื่องง่ายที่
จะเข้าใจและนำไปใช้ และถ้ามันจะเพิ่มกำไรของพวกเขาอย่างน้อย US $ 50 ต่อเฮกตาร์" ดร. Dobermann พูดว่า . "ผมได้ตั้ง
ข้อสังเกตว่า หลายเทคโนโลยีอาจฟังดูดีในทฤษฎี หรือทำได้ดีในการออกแบบทดลองการวิจัยอย่างระมัดระวัง แต่พวกเขาไม่จำเป็นต้อง
ตอบสนองความต้องการของเกษตรกรในแปลงนาเสมอไป."


นักวิจัยของสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ IRRI ไม่เพียงแต่ทำการปรับปรุงพันธุ์ข้าวสายพันธุ์ใหม่ๆ ที่มีผลผลิตสูง ด้วยความเครียดอย่าง
อดทน เพื่อให้ได้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพที่ดีเท่านั้น แต่พวกเขายังมีการพัฒนาและการประเมินผลการปลูกพืชด้วยเทคโนโลยี
ที่รักษาสิ่งแวดล้อมแบบอย่างยั่งยืนและลด
ค่าใช้จ่ายด้วย


"เกษตรกรมักจะกระตือรือร้นที่จะมองหาวิธีการที่ดีกว่าที่จะทำให้พืชของพวกเขาเจริญเติบโต ตราบเท่าที่พวกเขามีการเข้าถึงข้อมูล
ใหม่ๆ " ดร. Dobermann อธิบาย. "หนึ่งในบทบาทของ IRRI คือ การนำเสนอข้อมูลนี้ให้กับพวกเขาอย่างรวดเร็วที่สุดเท่าที่
ทำได้ เราจำเป็นต้องใช้ช่องทางข้อมูลที่มีความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชนเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่เราทำคือการขับเคลื่อนด้วย
ความต้องการของเกษตรกร ไม่ได้ตอบสนองความต้องการของนักวิทยาศาสตร์."


หัวหน้าการวิจัย IRRI ของสถาบันคิดว่า ต้องมุ่งเน้นมากขึ้นในการหาทางแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเพาะปลูกแบบบูรณาการอย่าง
แท้จริงและการจัดการระบบการปลูกพืชตามจริง – ตามสภาพพื้นนาของทั่ว
โลก



........ที่อ่านมาทั้งหมด คุณคิดว่า ... Eyes on the prize ดวงตาที่ฝันถึงรางวัล อยู่ตรงไหนครับ....



ข้อมูลเพิ่มเติม :http://www.irri.org/index.php?option=com_k2&view=item&id=12345:eyes-on-the-prize&lang=en


ตอนที่ 1 หรือภาค 1 ก็จบแค่นี้นะครับ ถ้าอ่านแล้วไม่รู้เรื่องก็ขออภัย อย่าว่ากันเลยครับ เสียดายที่ ดิคชันนารี่ ของ WEBSTER
กับ Advance Learner English Dictionary ของผม มันจมน้ำเสียหายเมื่อคราวน้ำท่วม ในนั้นมีคำศัพท์และคำแปลดีๆ
มากมาย ผมกัดฟันซื้อ เล่มละประมาณ 500 บาท ซื้อตอนที่เมื่อทองราคาบาทละ 450.-บาท ซื้อตอนนี้กี่ตังค์ไม่กล้าถาม เพราะ
ทองราคาบาทละเกือบสามหมื่น






ปราจีนบุรีร่วมผลักดันพันธุ์ "ข้าวมหัศจรรย์" พันธุ์ข้าวเพื่อสุขภาพ

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 เวลา 11.30 น. บริเวณแปลงข้าวหมู่ที่ 3 ตำบลนาแขม อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี นายศิริพงษ์ ห่านตระกูล
ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี พร้อมกับนายแพทย์ระวี สิริประเสริฐ สาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี ร่วมเป็นประธานเกี่ยวข้าวน้ำนมพันธุ์ข้าวเพื่อสุขภาพ
เพื่อเป็นตัวอย่างในการเกี่ยวข้าวน้ำนมที่ถูกต้อง รวมไปถึงการผลิตข้าวน้ำนมอินทรีย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาแขม เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพ
ของเกษตรกรตำบลนาแขม จากนั้นผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรียังได้เดินทางไปยังที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาแขม เพื่อชมขั้นตอนการผลิต
การคั่วข้าวน้ำนม ข้าวมหัศจรรย์ ข้าวเพื่อสุขภาพ

องค์การบริหารส่วนตำบลนาแขมได้สนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ตำบลนาแขมผลิตข้าวน้ำนม โดยข้าวน้ำนมเป็นข้าวหอมมะลิพันธุ์สินเหล็ก
ซึ่งทางองค์การบริหารส่วนตำบลนาแขม นำพันธุ์มาจากมหาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาลัยเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม การผลิตข้าวน้ำนม
นั้นจะเป็นข้าวที่ยังไม่แก่จัด เป็นน้ำนมข้าว หลังจากนั้นจะนำไปคั่วทำให้ข้าวสุกแล้วนำไปสีด้วยมือจะได้ข้าวสารเมล็ดสีเขียว

นายศิวพจน์ คูวิจิตรสุวรรณ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาแขม เปิดเผยว่า ข้าวพันธุ์น้ำนมที่นำมาผลิตเป็นข้าวสินเหล็ก ได้มีการค้นพบว่า ข้าว
ที่เมล็ดสีเข้มๆ ส่วนใหญ่เป็นข้าวพื้นบ้านที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์เป็นข้าวที่มีประโยชน์ไม่แพ้ข้าวกล้องแล้ว ยังมีความโดดเด่นกว่าตรงที่สี
ของข้าวนั้นเป็นแหล่งรวมของธาตุอาหารและสาระสำคัญ จำพวกสารต้านทานอนุมูลอิสระที่มีสูงกว่าพันธุ์ข้าวขาวมาก ทำให้ข้าวพันธุ์เมล็ดสีเข้มๆ
มีคุณสมบัติพิเศษในการป้องกันและบำบัดโรคที่สำคัญ คือ โรคเบาหวานทาง อบต.นาแขมจึงเกิดแนวคิดริเริ่มสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่
หันมาปลูกข้าวพันธุ์น้ำนม เพื่อสร้างรายได้ให้กลุ่มเกษตรกรเป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในประเทศและนอกประเทศ และคาด
ว่าจะเป็นที่ต้องการเพิ่มมากขึ้นในอนาคต


ความคิดเห็น
คุณไม่มีมีสิทธิ์เพิ่มความคิดเห็น

สำนักงานปราจีนพีเพิลนิวส์ เลขที่ 139/20 หมู่บ้านศรีเลิศมณี หมู่ 8 ต.ท่าตูม อ.ศรีมหาโพธิ์ จ.ปราจีนบุรี 25140 โทรศัพท์ 037-481361



https://sites.google.com/site/prachinpeoplenews/pracinburinews/pracinburirwmphlakdanphanthukhawmhascrryphanthukhawpheuxsukhphaph
.


แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย kimzagass เมื่อ 02/11/2012 11:18 am, แก้ไขทั้งหมด 9 ครั้ง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 31/10/2012 5:31 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

Technologies meet farmers

Written by Trina Leah Mendoza and Grant Singleton














In Asia, where about 90% of rice is grown, hundreds of millions
of rural poor grow rice on less than a hectare of land.


Producing affordable rice for the poor has been a challenge for
the last 50 years. During the 2008 rice price crisis, changes in
rice availability and price caused social unrest in some
developing countries. The International Rice Research Institute
(IRRI) estimates that an additional 8–10 million tons of rice
need to be produced each year to keep rice prices stable.


The challenge now is to grow more rice with less land, less
water, and less labor amidst climate change. A regional
approach to food security In 1997, the Swiss Agency for
Development and Cooperation (SDC) began funding the
Irrigated Rice Research Consortium (IRRC), which provides a
platform for partnership in research and extension in the
intensive lowland irrigated rice-based production systems.


Initially, the IRRC focused on integrated pest management
(IPM) and nutrient management. However, since 2002, the
IRRC’s research has featured water-saving technologies, labor
sustainability (including direct seeding and weed and rodent
management), postharvest management, crop health
initiatives, and, recently, climate change in 11 countries:
Bangladesh, Cambodia, China, India, Indonesia, Lao PDR,
Myanmar, Sri Lanka, Thailand, Vietnam, and the Philippines.


The IRRC develops partnerships to identify the needs of rice
farmers and potential solutions to their problems, and to
facilitate the adoption of suitable technologies. It provides a
range of technologies for rice farmers and other stakeholders in
Asia to improve their livelihoods and increase rice production to
maintain food security.


Hundreds of thousands of Asian farmers are now adopting
these technologies because of impressive economic, social, and
environmental benefits. This article examines some of these
successes.


More rice, less water
Irrigated lowland rice is usually grown under flooded conditions,
and kept flooded to help control weeds and pests. However,
researchers found that rice needs to be continuously flooded
only at the flowering stage. Through alternate wetting and
drying (AWD), a watersaving practice, fields can be dried for 1–
10 days before being re-flooded. Farmers can save 15–30% of
water and still harvest the same yields. The water saved can
be used to irrigate more fields, thus increasing overall
production. If AWD were to be adopted all across Asia, the
amount of water saved in one year would equal 200 times the
water consumption of Paris for a year.


The IRRC Water-Saving Work Group led by IRRI water scientist
Ruben Lampayan began studying AWD with Philippine partners
and farmers in several national irrigation systems in 2002. In
2009, the Philippine government approved the endorsement of
AWD for nationwide adoption. By July 2011, more than 80,000
Filipino farmers had adopted AWD.


Introduced in Bangladesh in 2004, AWD is now being promoted
by government and nongovernment agencies (see Managing
Bangladeshi farmers' liquid assets). The secretary of the
Ministry of Agriculture endorsed AWD in 2009, and directed the
government’s Department of Agriculture and Extension (DAE) to
promote the technology nationwide. Along with other agencies,
the DAE promoted AWD in over 50 districts in 2010. Field
studies reported a decrease in pumping cost and fuel
consumption, and an increased income of US$67–97 per
hectare. In 2009 alone, partners reported 120,000 farmers
adopting AWD.


The private sector promotes AWD by producing tubes that are
used to monitor water levels in the field. Although thousands
of farmers are practicing AWD in the country, a 2010 adoption
study reported that, with millions of farmers still to be reached,
adoption is in its infancy.


Around 40,000 farmers in Vietnam are practicing AWD, and
more farmers are expected to be reached through a new IRRC-
An Giang Department of Agriculture and Rural Development
initiative: the One Must Do, Five Reductions Program (see GAPs
fill the gap). In 2010, Lao PDR, Indonesia, Myanmar, and
Thailand started or successfully demonstrated AWD.


Personalized precision farming
Most farmers lack knowledge on the most effective use of
fertilizer. They either apply too much or too little, or apply it at
the wrong time. Too much nitrogen fertilizer leads to increases
in diseases and pests, damage to the environment, and low
profit. For more than a decade, IRRI soil scientist Roland
Buresh, leader of the IRRC Productivity and Sustainability Work
Group, has been working with partners in Asia to provide site-
specific nutrient management (SSNM) practices for rice.


Since 2003, correct fertilizer timing and application rates have
greatly increased farmers’ yields compared with traditional
practices. Yield increases from adopting SSNM have improved
net returns by $100 to $300 per hectare per year in China,
India, Indonesia, Vietnam, and the Philippines. An impact
assessment study on SSNM in the Red River Delta in Vietnam
revealed a 2% and 3% increase in net present values for
smallholder farmers in Ha Tay and Ha Nam provinces,
respectively. Farmers who used SSNM reported a reduced use of
pesticides.


Encouraging farmers to use SSNM has been a challenge because
it is knowledge-intensive and many factors need to be
considered, such as crop yield and the use of organic materials.
This has slowed down farmers’ adoption of these improved
practices.


But, this speed bump did not slow down Dr. Buresh and his
group, who looked for ways to make their science simpler for
the farmers. The leaf color chart (LCC) was developed as a tool
for farmers to assess the nitrogen needs of their crop. In
Bangladesh, an estimated 600,000 farmers use LCCs, which has
increased the efficiency of urea fertilizer use, enabling farmers
to harvest more rice with less expense for purchased fertilizer.


Farmers learned about the use of potassium and phosphorus
fertilizers, and gained new knowledge on other micronutrients.
They were able to save $25 per hectare in production costs and
harvested higher yields.


In 2008, SSNM principles were packed into a computer-based
decisionmaking tool called Nutrient Manager for Rice. A farmer
or extension worker only needs to answer about 15 questions
and, within 5–10 minutes, a fertilizer guideline is provided for a
field. In 2010, Web and mobile phone versions were developed
in the Philippines. Web applications of the Nutrient Manager
are now available for Guangdong, China, and Indonesia, while
applications for Bangladesh, Vietnam, southern India, and
West Africa are under way. Saving labor and water costs In the
Indo-Gangetic Plain, which covers most of northern and eastern
India, and almost all of Bangladesh, farmers face rising costs,
waning productivity, worsening soil health, and labor shortages,
as many people move to the cities to find work. Farmers
depend on the monsoon rains, and they cannot plant if the
rains come too late.


Led by IRRI weed scientist David Johnson, the IRRC Labor
Productivity and Community Ecology Work Group promotes
direct seeding of rice as an alternative way to establish a crop.
In direct seeding, pregerminated seeds are sown directly into a
nonflooded but saturated field, using a drum seeder. Direct
seeding allows quicker land preparation, and farmers can save
20% in labor costs and 30% in water costs. It takes 50 person-
days to transplant a hectare of rice, but it takes only 2 person-
days to directly seed using a drum seeder. (See Farmers get
their groove back and Drumming up success.)


Direct-seeded rice matures 10–15 days earlier, allowing farmers
to plant other crops earlier. In a partnership with India’s
Ramakrishna Mission in 2010, direct seeding (wet or dry) in 90
farmers’ fields helped the early harvest of autumn and winter
paddy, providing new opportunities for improved winter
cropping practices through earlier timing of planting, new
cultivars, and new crops. An earlier winter rice harvest meant
earlier potato planting and a larger potato harvest, and reduced
fungicide usage and drought risk.



http://www.irri.org/index.php?option=com_k2&view=item&id=11323&lang=en
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 31/10/2012 5:36 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

TO แดง.....

งานเข้า 2 แปลหน่อยนะ.....





.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 31/10/2012 5:45 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

เครื่องดำนาขนาดเล็ก



ปัจจุบัน วงการเกษตรของไทยเราได้พัฒนาปรับปรุงการผลิต โดยการนำเอาเครื่องจักรกลเข้ามาช่วยผ่อนแรงและร่นชั่วโมงการ
ทำงานลงได้มาก เป็นการประหยัดทั้งแรงงานและเวลา ในภาคของการทำนานั้นก็ได้นำเอาเครื่องจักรกลมาใช้เช่นเดียวกัน ที่
เห็นกันชินตาก็คือ รถไถนาที่มีสี่ล้อขนาดใหญ่ และที่เล็กลงมาหน่อยก็คือ รถไถนาเดินตามหรือที่เรียกกันว่า ควายเหล็กนั่นเอง
เครื่องจักรอีกตัวหนึ่งที่เห็นในระยะหลังนี้ก็คือ รถเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดกลาง และในเวลาอันใกล้นี้ก็ได้นำ
เอาเครื่องดำนามาใช้กันแล้ว ในตลาดเครื่องจักร์มีทั้งรุ่นใหญ่และขนาดกลาง แต่ที่เห็นกำลังโฆษณาโหมโรงให้ชาวนาซื้อหามา
ใช้กันนั้น ดูจะเป็นเครื่องดำนาขนาดกลางเสียมากกว่า เพราะเครื่องดำนาขนาดเล็กยังไม่มีผู้ใดผลิตขึ้นมาจำหน่าย เนื่องจากเครื่อง
จักรชนิดนี้ราคาค่อนข้างสูง ถึงแม้จะเป็นขนาดกลางก็ตามราคาก็ยังสูงอยู่ดี และยังมีข้อจำกัดอีกหลายประการที่ยังไม่เป็นที่นิยมซื้อ
มาใช้ เนื่องจากใช้งานได้ไม่เต็มที่ ไม่คุ้มกับเงินที่จ่ายไป เพราะใช้งานแค่ปีละครั้งในการทำนาปี ถึงแม้จะมีการทำนาได้ถึง 3 ครั้ง
ต่อปีในเขตที่มีการชลประทานก็ตาม ก็ยังไม่คุ้มค่าในการลงทุน เพราะชาวนาไทยแต่ละครอบครัวนั้นมีที่นากันไม่มาก ผู้ที่ซื้อมาใช้
จึงเป็นชาวนารวยที่มีที่นาแปลงใหญ่มีพื้นที่ทำนามากพอสมควร โดยซื้อมาใช้งานเองและรับจ้างชาวนาด้วยกันจึงจะคุ้มกับเงินที่เสียไป




รูปร่างหน้าตาของเครื่องปักดำต้นกล้าข้าวที่ใช้ได้ทั้งแรงคนและพลังงานแบตเตอร์รี่




ผู้ประดิษฐ์กำลังสาธิตการใช้งานเครื่องดำนาที่ผลิตขึ้น



ข่าวดีกำลังจะมีมาให้แก่ชาวนาไทยทั่วไป นั่นก็คือ ขณะนี้ได้มี เครื่องปักดำนาขนาดเล็กที่ใช้กำลังคน โดยการใช้มือหมุน หรือใช้
พลังงานจากแบตเตอร์รี่ผลิตขึ้นจำหน่ายแล้ว การใช้งานก็สะดวกง่ายดาย ใช้งานได้ดี ไม่ต้องเพาะกล้าในกระบะเหมือนเครื่องปัก
ดำที่มีราคาแพง ใช้กล้าที่เพาะโดยวิธีที่ชาวนาทำกันอยู่เป็นปกติ ประการสำคัญก็คือราคาไม่แพง เหมาะกับการใช้งานของชาวนา
รายย่อยเป็นอย่างยิ่ง จากการทดสอบการใช้งาน มีความเร็วในการปักดำต้นกล้าข้าวได้วันละ 2-4 ไร่เลยทีเดียว คิดว่าอีกไม่นาน
ชาวนาไทยคงได้ซื้อหามาใช้งานได้ จากการนำเข้ามาของ ห้างฯ ยะลาทักษิณาวัฒน์ ที่มุ่งสรรหาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าคุ้มราคามา
บริการแก่เกษตรกรไทยตลอดไป




http://www.eco-agrotech.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5320823&Ntype=2
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
kimzagass
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009
ตอบ: 11553

ตอบตอบ: 31/10/2012 6:16 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

เครื่องดำนา







เครื่องดำนาเป็นทางเลือกใหม่ที่สามารถใช้ทดแทนแรงงานคน กองเกษตรวิศวกรรมได้ทำการวิจัย และทดสอบให้สามารถใช้ในการปลูกข้าว
ของเกษตรกร จึงได้มีการสนับสนุนทางวิชาการและร่วมมือกับ บริษัทเอกชนนำเครื่องดำนาจากต่างประเทศมาเผยแพร่แก่เกษตรกรเครื่องดำ
นาที่นำเข้ามาเผยแพร่เป็นแบบเดินตาม โดยใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกสภาพดินที่เกษตรกร
ทำนาดำอยู่ทั่วไป ต้นข้าวเจริญเติบโตและให้ผลิตเช่นเดียวกับการใช้คนปักดำ


เครื่องดำนาสามารถปักดำกล้าได้ประมาณวันละ 6 ไร่ โดยใช้แรงงานคน 2 คน ปักดำกล้าครั้งละ 4 แถว ระยะระหว่างแถว 30 ซม. ระยะ
ระหว่างกอสำหรับนาปี 15 ซม. นาปรับ 11 ซม. ระดับความลึกและจำนวนต้นในการปักดำสามารถปรับได้ตามต้องการ



คำแนะนำการใช้
ต้นกล้าที่ใช้สำหรับเครื่องดำนาจะต้องมีลักษณะเป็นแผ่นคล้ายกับแผ่นหญ้าและมีขนาดเฉพาะ ซึ่งจะมีวิธีการเตรียม การดูแลรักษา และการ
ถอนกล้าที่ง่ายและประหยัดกว่าวิธีที่เกษตรกรทำอยู่ในปัจจุบัน



วิธีการเตรียมแปลงปักดำกล้าและการใช้เครื่องดำนา
- เตรียมดินตามวิธีการและขั้นตอนที่เกษตรกรเตรียมสำหรับดำนาด้วยคน
- หลังจากเตรียมดินแล้ว ต้องขังน้ำทิ้งไว้ในแปลงจมน้ำในแปลงใสก่อน จึงใช้เครื่องดำนาได้
- ความลึกของน้ำในแปลงปักดำไม่ควรเกิน 5 ซม.
- ใส่แผ่นกล้าในถาดป้อนแผ่นกล้า
- ปรับระยะระหว่างหลุมปักดำตามต้องการ

- ทดสอบใช้เครื่องดำประมาณ 1-2 เมตร และตรวจสอบดูระดับความลึกในการปักดำว่าเหมาะสมแล้วหรือไม่ ถ้ายังไม่เหมาะสมทำการปรับ
ระดับความลึกตามความต้องการ ขณะเดียวกันให้ตรวจนับจำนวนต้นกล้าต่อกอ และปรับเครื่องให้ปักดำต้นกล้าได้จำนวนต้นตามต้องการ



http://203.172.198.146/rice/rice_mix2/mach6.html
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
DangSalaya
หาวด้า
หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 23/06/2011
ตอบ: 1874

ตอบตอบ: 01/11/2012 10:01 am    ชื่อกระทู้: แปลหน่อยเดียวไม่ได้ ต้องแปลทั้งหมด ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีครับลุงคิม


ได้เลยครับลุง เดี๋ยวจัดให้ แต่ขอเวลาหน่อย ตอนนี้ Stomachache คนเหนือเรียกว่า รุต๊อง คนไทยบอกว่า ท้องเสียเป็นโจ๊ก ...
เพราะฤทธิ์ของ ส้มตำปูม้าดอง ที่แสนจะเผ็ดร้อน ต้องหิ้วถุงน้ำเกลือ แทบจะนอนในห้องน้ำอยู่แล้ว ทุกครั้งที่ถ่ายออกมา แสบจนน้ำตาร่วง






เคยกินแต่ปูภูเขาบนดอยบ้านกะเหรี่ยง มาเจอปูม้าดองเข้าเลยผิดสำแดง ท้องไส้เลยปั่นป่วน





แถมรูป เฮอริเคน แซนดี้ ถล่มนิวยอร์คมาให้ดูกันด้วยครับ
ต้องขออภัยในความไม่สะดวกด้วย ขอบคุณที่ให้เกียรติ์ จะโดนคำติชมหลังไมค์จากการแปลอีกมั๊ยเนี่ย ม่ า ย เ พ น ร า ย ..
ร่วมด้วยช่วยกัน แค่นี้ก่อนครับ มันมาอีกแล้ว บาย



.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
cherm
สาวดาม
สาวดาม


เข้าร่วมเมื่อ: 17/11/2011
ตอบ: 237

ตอบตอบ: 01/11/2012 12:46 pm    ชื่อกระทู้: กินไม่แบ่ง ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สวัสดีค่ะ ลุงคิม
สวัสดีค่ะ ทิดแดง และสมช.ทุกท่าน

งานเข้าทิดแดง ยัยเฉิ่มก้รออ่านด้วยค่ะ
สาเหตุที่ ท้องเสีย น่าจะมากจากกินไม่แบ่ง ว่าไหมค่ะ ลุงคิม

ยัยเฉิ่ม ค่ะ





.
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
แสดงการตอบก่อนนี้:   
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    MySite.com หน้ากระดานข่าวหลัก -> ถาม-ตอบ ปัญหาการเกษตร ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
ไปที่หน้า 1, 2  ถัดไป
หน้า 1 จากทั้งหมด 2

 
ไปยัง:  
คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ใหม่ในกระดานนี้
คุณ สามารถ ตอบกระทู้ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลบการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลงคะแนนในแบบสำรวจในกระดานนี้

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group
Forums ©