-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 301 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

ไม้เศรษฐกิจ9




หน้า: 1/3




ไผ่

ปัจจัยแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูก

ไม้ไผ่ส่วนใหญ่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในที่ราบมีการระบายน้ำดี น้าท่วมไม่ถึง หรือที่ลาดเชิงเขาที่่มีดินร่วนปนทรายแต่ไม่สามารถเจริญเติบโตในที่มีน้ำขังเป็นระยะเวลานานได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใ ระยะที่เริมปลูกใหม่ ๆ อาจทำให้กล้าไม้เนาตายได้ การปลูกไม้ไผ่ในที่ลุ่มจึงจำเป็นต้องทำการยกร่องก่อน ส่วนปัจจัยหลักที่ต้องคำนึงถึงในการปลูกไม้ไผ่ มีดังนี้


1.
ลักษณะภูมิอากาศ
ไม้ไผ่แต่ละชนิดมีความสามารถขึ้นอยู่ได้ในที่่ที่่มีอุณหภูมิต่าง ๆ กัน โดยในธรรมชาติสามารถพบไม้ไผ่ขึ้นอยู่ได้ในช่วงระหว่าง 9-36 ๐C ไม้ไผ่ที่มีขนาดใหญ่ต้องการที่่ซึ่งมีอุณหภูมิแปรผันน้อยกว่าชนิดที่มีลำขนาดเล็ก และมักขึ้นปะปนกับไม้ใหญ่ ส่วนไม้ไผ่ที่มีลำต้นขนาดเล็ก สามารถขึ้นในกลางแจ้งได้ดีกว่าในการปลูกไม้ไผ่นั้น อุณหภูมิเฉลี่ยที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 25-35 ๐ C


ส่วนปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุดที่ไม้ไผ่ต้องการประมาณ
40 นิ้ว หรือ 1,020 มม. ต่อปี ส่วน ปริมาณสูงสุดไม่แน่นอน โดยพบว่าในที่ซึ่งมีปริมาณนํ ้าฝนถึง 250 นิ้ว หรือ 6,350 มม. ต่อปี ก็ยังต้องพบ ไม้ไผ่ขึ้นอยู่ได้ และปริมาณน้ำฝน โดยเฉลี่ยที่่เหมาะในการปลูกไม้ไผ่ควรอยู่ระหว่าง 1,000-2,000 มม. ต่อปี


สำหรับความชื้น ปกติไม้ไผ่ขนาดใหญ่ต้องการความขึ้นมากกว่าไม้ไผ่ขนาดเล็กการกระจาย พันธุ์ตามธรรมชาติของไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ จึงมักถูกจำกัดโดยความชื้น ไม้ไผ่บางชนิด เช่น ไผ่หก
(Dendrocalamus hamiltonii) และไผ่เป๊าะ (D. giganteus) จะพบเฉพาะในที่ซึ่งมีความชื้นมากพอสมควร จึงมักเจริญเติบโตไม่ค่อยดีในป่าเบญจพรรณแล้ง  ส่วนไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) แม้ว่าจะ สามารถขึ้นอยู่ได้ในทุกสภาพพื้นที่ แต่เมื่อพบขึ้นในบริเวณที่มีอากาศแห้งแล้งและความชื้นต่าในฤดูแล้ง จะมีลักษณะลำไม่สวยงามและมีขนาดเล็กกว่าพวกที่ขึ้นอยู่ในที่่ชื้นหรือใกล้แม่น้ำลำธาร เป็นต้น ดังนั้นการคัดเลือกพันธุ์ไผ่ให้เหมาะสมกับพื้นที่่ที่ปลูกจึงมีความจำเป็นมากต่อผลสำเร็จในการปลูกสร้างสวนไผ่


2.
ลักษณะดิน
จากที่ได้กล่าวข้างต้นว่า ไม้ไผ่ชอบดินที่มีการระบายน้ำดี จึงมักพบขึ้นอยู บนที่ดินร่วนปนทราย (Sandy Loam)
เป็นส่วนใหญ่ ไม้ไผ่แต่ละชนิดมีความต้องการดินที่่แตกกต่างกัน ออกไป เช่น ไผ่ไร่ มักขั้นอยู่ในที่ดินเป็นดินร่วนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ์ดี ส่วนไผ่รวกพบขึ้นอยู่ได้ดี ในดินร่วนปนทรายถึงดินเหนียว ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่า และไผ่ซาง สามารถพบขึ้นในดินที่เป็นหินผุ ขนาดความอุดมสมบูรณ์ โดยทั่วไปไม้ไผ่ที่่มีลำใหญ่ต้องการดินที่มีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าไม้ไผ่ที่มีลำ ขนาดเล็กกว่า ความชื้นในดินก็เป็นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญและพัฒนาของตา เหง้าไผ่ ดังนั้น ระบบการให้ น้ำในแปลงปลูกไม้ไผ่เพื่อการค้า จึงมีความจำเป็นมาก




การลงทุน
(ต่อต้น/ต่อไร่)

ตารางต้นทุนการปลูก (unit cost)


1.
ต้นทุนคงที่ ได้แก่ ค่าที่ดิน หรือค่าเช่าที่่ดิน ในกรณีนี้กำหนดอัตราค่าเช่าที่่ดินไว้ 200 บาท/ไร่/ปี และอัตราออกเบี้ยที่กู้ยืมมาลงทุน คิดอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี



2. ต้นทุนแปรผัน ได้แก่ ค่ากิ่งพันธุ์, ค่าปุ๋ยคอก, ปุ๋ยเคมี, ค่าบำรุงรักษา (ค่าไถบุกเบิกไถ พรวน, ค่าจ้างปลูก, ค่าจ้างใส่ปุ๋ย, ค่าจ้างดายวัชพืช, ค่าจ้างสางกอ, ค่าจ้างตัดหน่อและลำ, ค่าน้ำ ค่าไฟ แล ค่าวัสดุการเกษตรอื่น ๆ) แยกแต่ละปี ดังตารางต่อไปนี้


ตารางแสดงต้นทุนการปลูกและบำรุงรักษาไม้ไผ่ตงระยะปลูก
5x5 เมตร (64 กอ/ไร่)

รายการ

ปี ที ่1

ปี ที ่2

ปี ที ่3

ปี ที ่4

ปี ที ่5

ต้นทุน/ไร่

1.ค่าเช่าที่่ดิน

2.ดอกเบี้ย (คิดอัตราร้อยละ 15 บาท/ปี)

3.ค่าพันธุ์ (ค่ากิ่งพันธุ์ในปัจจุบัน กิ่งละ 18 บาท

4. ค่าไถ่บุกเบิกและไถพรวน

5. ค่าจ้างปลูก

6. ค่าปุ๋ยคอก (มูลไก่)

7. ค่าปุ๋ยเคมี

8. ค่าจ้างใส่ปุ๋ย

9. ค่าจ้างดายวัชพืช

10. ค่าจ้างสางกอ

11. ค่าจ้างตัดหน่อ

12. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (ค่าน้ำมัน,ไฟฟ้ า, ค่าวัสดุเพาะชำ)

200

1,017

1,800

500

100

2,000

500

80

100

-

-

1,500

200

747

-

-

-

2,000

1,000

100

100

80

-

1,500

200

747

-

-

-

2,000

1,000

100

100

80

50

1,500

200

747

-

-

-

2,000

1,000

100

100

100

80

1,500

200

747

-

-

-

2,000

1,000

100

100

150

100

1,500




หน้าถัดไป (2/3) หน้าถัดไป


Content ©