-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 319 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

ยางพารา8





การวางแนวปลูก


หลังจากเตรียมพื้นที่เสร็จแล้ว ในกรณีที่เป็นที่ราบจะต้องวางแผนการใช้พื้นที่ก่อนว่า จะวางแนวปลูก ตัดถนน และระบายน้ำอย่างไร ทั้งนี้เพื่อการวางแผน สำหรับการแบ่งแปลงกรีดที่จะมีขึ้นในระยะเปิดกรีด เพื่อความสะดวกในการกรีด การรวบรวมผลผลิต การดูแลรักษาและอื่นๆ ในกรณีที่เป็นที่พื้นที่ลาดเทจะต้องดำเนินการในเรื่องการจัดทำขั้นบันได

การวางแนว (Lining) เป็นการกำหนดว่าจะวางแถวปลูกยางไปในทิศทางใด ทั้งนี้เพื่อลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับต้นยาง ป้องกันการชะล้างผิวหน้าดิน และความสะดวกทั้งในการกรีด และการเก็บผลผลิต

ปัจจัยที่ควรคำนึงในการวางแนวปลูก

ความลาดเทของพื้นที่ พื้นที่ เป็นปัจจัยหลัก ที่เกี่ยวข้องกับการชะล้าง การกัดเซาะผิวหน้าดิน การพัดพาปุ๋ยที่ใส่ให้แก่ต้นยางออกไปจากพื้นที่ อันเนื่องจากฝนทั้งนี้เพราะถ้าพื้นที่ลาดเท และวางแถวงยางไม่ถูกต้องแ้ล้ว จะทำให้เกิดทางระบายน้ำขึ้น ในแถวยางโดยอัตโนมัติ เมื่อทำการกำจัดวัชพืชในแถวยางโดยการขุดรากจะเกิดเป็นร่องขึ้น ทำให้น้ำไหลออกจากแปลงได้อย่างรวดเร็ว ในการนี้จะเกิดการกัดกร่อนเป็นร่องน้ำลึกๆ ได้

ความรุนแรงของกระแสลม เป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อต้นยาง เพราะอาจทำให้กิ่ง ก้านฉีกขาด จนกระทั่งถึงขั้นต้นยางล้มได้ ฉะนั้นในเขตที่มีกระแสลมรุนแรงมาก ๆ ควรปลูกพืชอื่นที่เจริญเติบโตเร็ว เป็นพืชกำบังลมก่อนที่จะลงมือปลูกยาง แต่ในเขตภาคใต้ของประเทศพบว่ากระแสลมตามปกติไม่รุนแรงมากจนถึงขั้นนี้ นอกจากกรณีเกิดพายุหมุนเป็นครั้งคราว





ที่มา  : WWW.YANGPARA.CO,









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-04-23 (1804 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©