-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 182 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

แฟ้มงานวิจัย33





 วิจัยและพัฒนาการใช้สารสกัดจากพืชในการควบคุมแมลงศัตรูขมิ้นชัน

คณะผู้ดำเนินงาน
หัวหน้าการทดลอง นางสาวศรีสุดา โท้ทอง สถาบันวิจัยพืชสวน



บทคัดย่อ
แมลงศัตรูพืชของขมิ้นชัน มีหลายชนิด ได้แก่ หนอนเจาะยอด Conogethes punctiferalis (Guenée) หนอนม้วนใบ Udaspes folus (Cramer) และเพลี้ยหอย Aspidiella hartii (*****erell) และ ได้รวบรวมข้อมูลและงานวิจัยพื้นฐานด้านต่างๆ ซึ่งเป็นข้อมูลด้านอนุกรมวิธาน ชีววิทยา พืชอาศัย การแพร่กระจาย การป้องกันกำจัดของแมลงศัตรูพืช ได้ทั้งหมด 125 รายการ



คำนำ
ในการศึกษาและสำรวจศัตรูพืชในสกุลขมิ้นที่ผ่านมา พบทั้งโรคพืช แมลงศัตรูพืช และไส้เดือนฝอย ซึ่งศัตรูพืชมีผลต่อผลผลิตและคุณภาพของผลผลิตอย่างมาก สำหรับแมลงศัตรูพืชที่พบทำลายขมิ้นชันได้แก่ เพลี้ยหอย หนอนผีเสื้อกินใบ และหนอนปลอก เป็นต้น ซึ่งในข้อมูลด้านต่างๆที่เกี่ยวกับแมลงศัตรูขมิ้นชันยังมีน้อย ดังนั้นจึงได้ทำการรวบรวมข้อมูลและงานวิจัยด้านต่างๆเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านป้องกันกำจัดศัตรูพืชต่อไป



อุปกรณ์และวิธีการ
มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1) รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยพื้นฐานด้านประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชชนิดต่างๆในการควบคุมศัตรูพืช
2) ทดสอบการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยเลือกใช้สารสกัดที่มีประสิทธิภาพดี
3) เผยแพร่และถ่ายทอดการใช้สารสกัดจากพืชในการควบคุมศัตรูพืช


ผลการทดลองและวิจารณ์
1) จากการรวบรวมข้อมูลแมลงศัตรูพืชของขมิ้นชัน ซึ่งได้แก่ หนอนเจาะยอด
Conogethes punctiferalis (Guenée) หนอนม้วนใบ Udaspes folus (Cramer) และเพลี้ยหอย Aspidiella hartii (*****erell) ซึ่งเป็นข้อมูลด้านอนุกรมวิธาน ชีววิทยา พืชอาศัย การแพร่กระจาย การป้องกันกำจัด จำนวนทั้งหมด 125 รายการ

2) ทดสอบการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยเลือกใช้สารสกัดที่มีประสิทธิภาพดี
เนื่องจากการระบาดของแมลงศัตรูพืชค่อนข้างต่ำ จึงทำให้ไม่เห็นผลชัดเจนถึงความแตกต่างระหว่างสารสกัดสะเดาและสารเคมี carbaryl



สรุปผลการทดลอง
ได้รวบรวมข้อมูลและงานวิจัยพื้นฐานด้านต่างๆของแมลงศัตรูพืชขมิ้นชัน ได้ทั้งหมด125 รายการ ซึ่งจะได้นำไปขยายผลสู่นักวิจัยขมิ้นชันต่อไป

การนำไปใช้ประโยชน์ พัฒนาต่อ หรือถ่ายทอด
ได้นำไปขยายผลสู่นักวิจัยขมิ้นชันต่อไปเพื่อพัฒนาต่อไป




ที่มา  :  กรมวิชาการเกษตร









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-04-13 (2055 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©