-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 398 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

ปุ๋ยเคมี





กำลังปรับปรุงครับ

สารละลายสำรับการปลูกพืชไฮโดรโพนิคส

1. หลักการเตรียมสารละลายธาตุอาหารพืช

1.1 หลักการเลือกใชปุยหรือสารเคมี ในการปลูกพืชโดยใชระบบไฮโดรโพนิคส" มีความจำเป&นที่

จะตองใหธาตุอาหารในรูปของสารละลายแก.พืช จึงตองใชปุยที่มีการละลายน้ำดีมา ละลายน้ำในสัดส.วนที่

เหมาะสม หลักในการเลือกใชสารเคมีที่เหมาะสมมีป1จจัยที่เกี่ยวของดังนี้

- ความบริสุทธิ์ของปุยหรือสารเคมี

- ความสามารถในการละลายน้ำของสารเคมี

- ราคาของปุยหรือสารเคมี

1.2 คุณภาพของน้ำที่ใชเตรียมสารละลาย คุณภาพน้ำมาตรฐานที่เหมาะสมสำหรับเตรียม

สารละลายเป&นดังนี้

ส#วนประกอบทางเคมี คุณภาพน้ำ

ความเป&นกรดด.าง (pH)

ค.าการนำไฟฟ>า (EC) (mS/cm)

ไนเตรท NO3– -N (ส.วนต.อลาน)

แอมโมเนียม (NH4+) (ส.วนต.อลาน)

ฟอสเฟต (PO4-3 – P) (ส.วนต.อลาน)

โพแทเซียม (K) (ส.วนต.อลาน)

แคลเซียม (Ca) (ส.วนต.อลาน)

แมกนีเซียม (Mg) (ส.วนต.อลาน)

ซัลเฟต (SO4-2 – S) (ส.วนต.อลาน)

เหล็ก (Fe) (ส.วนต.อลาน)

โบรอน (B) (ส.วนต.อลาน)

สังกะสี (Zn) (ส.วนต.อลาน)

ทองแดง (Cu) (ส.วนต.อลาน)

แมงกานีส (Mn) (ส.วนต.อลาน)

คลอรีน (Cl) (ส.วนต.อลาน)

โซเดียม (Na) (ส.วนต.อลาน)

5 -8

<0.5

นอยที่สุด

นอยที่สุด

<5

<5

<40

<20

<5

<1

<0.3

<0.5

<0.5

<0.5

<30 – 40

<30

1.3 ป1จจัยที่เกี่ยวของกับการเตรียมสูตรธาตุอาหารพืช

- ชนิดและสายพันธุ"ของพืช

- ระยะการเจริญเติบโตของพืช

- ส.วนของพืชที่ต้องการผลิต เช.น ใบ ราก ผล ดอก ลำต้น

- สภาพแวดล้อมที่มีผลต.อการนำธาตุอาหารไปใช้ได้แก่ ฤดูกาลหรือความยาวของวัน

อุณหภูมิ พืชมีอัตราการหายใจและการเจริญเติบโตที่แตกต.างกัน ดังนั้นสูตรอาหารสำหรับใน เขตร้อนและ

เขตหนาวจึงแตกต.างกัน ความเข้มของแสง โดยจะให้ความเข้มข้นของสารละลายปุ๋ยเพิ่มขึ้น 30-50%

ในช.วงฤดูหนาว และ จะลดต่ำลงในวันที่มีแสงแดด

2. ขั้นตอนการเตรียมสารละลายธาตุอาหารพืชไฮโดรโพนิคส

วิธีเตรียมจะมีขั้นตอนต.างๆ ดังต่อไปนี้

1. ชั่งแม่ปุ๋ยหรือสารเคมีที่เลือกใช้ตามสูตรที่ได้คำนวณไว้ โดยต้องให้มีความแม่นยำมากๆ

(บวกลบไม.เกิน 5%) เครื่องชั่งที่ใช้ชั่งธาตุหลักและธาตุรองกับธาตุเสริม จะมีความละเอียด ที่ต.างกัน โดย

มักใชเครื่องชั่งในระดับกรับกับธาตุเสริม และจะใช้เครื่องชั่งที่มีความละเอียดในระดับรอยกรัมสำหรับการ

เตรียมธาตุหลักและธาตุรอง

2. เตรียมถังที่จะใชเป&นถังสารละลายเขมขน (ถังสารละลายสต็อค A และถังสารละลายสต็อค

B) โดยเติมน้ำลงในถัง 10% ของปริมาณน้ำทั้งหมดที่จะใชเตรียมสารละลายเขมขน โดยควรจะใหน้ำที่ใช

เตรียมมีความเป&นกรดด.าง(พีเอช)ที่ต่ำกว.า 7.0

3. ละลายสารเคมีหรือแม.ปุยที่จะใชเตรียมสารละลายที่ละชนิดในถังน้ำโดยคนใหเขากัน จน

ละลายทั้งหมดก.อนจะเทลงในถังสารละลายเขมขน (ถังสารละลายสต็อค A หรือ B) ทำเช.นนี้ จนครบทุก

สารเคมีหรือครบทุกแม.ปุย แลวจึงเติมน้ำใหมีปริมาตรครบตามที่กำหนด

4. ในการเตรียมใหละลายธาตุอาหารหลักก.อน แลวจึงตามดวยธาตุอาหารรองหรือธาตุอาหาร

เสริม แต.จะตองคำนึงถึงการเตรียมเกลือของสารประกอบแคลเซียม โดยจะตองไม.รวมกับ เกลือของ

สารประกอบ ในรูปซัลเฟต ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการตกตะกอนในรูป แคลเซียม ซัลเฟต ซึ่งจะมีผลทำใหพืช

ขาดธาตุแคลเซียมและกำมะถัน

5. ในการจัดการถังเก็บสารละลายที่ไหลเวียนในระบบ จะตองทำการตรวจสอบ ค.าความเป&น

กรดด.าง(พีเอช)ของสารละลายที่เตรียมสมบูรณ"แลวโดยคิดปรับค.าความเป&นด.างดวย กรดเขมขนในรูปกรด

กำมะถัน, กรดเกลือหรือกรดไนตริก ลดค.าความเป&นกรดเกินไปของสารละลายดวยด.างเขมขน

(โพแทสเซียมไฮดรอกไซด" หรือ โซเดียมไฮดอกไซด"(โซดาไฟ)

6. ปล.อยใหมีการไหลเวียนของสารละลายในระบบกับถังเก็บสารละลายในช.วง 30-60 นาที

จากนั้นจึงทำการตรวจสอบความเป&นกรด ด.างอีกครั้งและปรับใหอยู.ที่ 6.0

7. เติมธาตุอาหารเสริมที่เหลือจนครบตามสูตร

8. ปรับค.าการนำไฟฟ>า (EC) ใหเหมาะสมกับสูตรที่กำหนดไวสำหรับนำไปใชในแต.ละพืช ในแต.

ละช.วงอายุ



http://maejohydroponics.org/pdf/solution.pdf
maejohydroponics.org/pdf/solution.pdf









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-08-25 (1510 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©