-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 640 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

ปุ๋ยเคมี








กรมส่งเสริมฯแนะ
เลิกใช้วิธีละลายน้ำ ตรวจปุ๋ยเคมีปลอม ยันผลคลาดเคลื่อน

 


นายโอฬาร พิทักษ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เปิดเผยว่า ปัจจุบันยังมีเกษตรกรจำนวนมาก ที่มีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในการตรวจสอบปุ๋ยเคมีก่อนนำไปใช้ทางการเกษตร เพราะไม่สามารถตรวจสอบปุ๋ยเคมีว่าปลอมหรือไม่ ด้วยวิธีการนำไปละลายน้ำได้เสมอไป เนื่องจากการผลิตปุ๋ยเคมีผสมชนิดเม็ดสูตรต่างๆ นั้น บรรดาผู้ผลิตจำเป็นต้องใส่สารตัวเติมน้ำหนัก หรือ Filler ลงไปด้วย เพื่อให้ได้สูตรตรงกับความต้องการ ซึ่งสารตัวเติมที่นิยมใช้ ได้แก่ ดินขาว หรือ ดินเหนียว แคร์โอลิน และในบางกรณีอาจใช้ทรายร่อนเป็นสารตัวเติมด้วย

ทั้งนี้ การใส่สารตัวเติม นอกจากจะเพื่อให้ได้สูตรตรงกับความต้องการแล้ว ยังช่วยให้การจับตัวของเนื้อปุ๋ยและเม็ดปุ๋ย ไม่จับตัวกันเป็นก้อน เช่น ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 จำนวน 100 กิโลกรัม จะมีธาตุอาหารพืชไนโตรเจนอยู่ 15 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส 15 กิโลกรัม และ โพแตสเซียม 15 กิโลกรัม รวมจำนวนธาตุอาหารพืช 45 กิโลกรัม ที่เหลืออีก 55 กิโลกรัม จะเป็นสารตัวเติม (filler) ที่ใส่ลงไปในเนื้อธาตุปุ๋ยให้ได้ตามสูตรต้องการ ดังนั้นการที่เกษตรกรเข้าใจว่า การนำปุ๋ยเคมีไปละลายน้ำแล้วมีกรวด ทรายปะปนมาด้วย ถือว่าเป็นปุ๋ยเคมีปลอม จึงไม่ถูกต้องเสมอไป

การตรวจสอบปุ๋ยเคมีว่าเป็นปุ๋ยจริงหรือปุ๋ยปลอม สามารถทำได้โดยวิธีง่ายๆ คือ การหยดน้ำปูนใสลงบนเม็ดปุ๋ยเคมีแล้วสังเกตปฏิกิริยาก็จะทราบผล ถ้าได้กลิ่นฉุนก็สันนิษฐานได้ว่าปุ๋ยเคมีนั้นเป็นปุ๋ยแท้ เนื่องจากสารละลายน้ำปูนใสทำปฏิกิริยากับปุ๋ยไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย จึงได้ก๊าซมีกลิ่นฉุน ซึ่งตรวจสอบปุ๋ยเคมีไนโตรเจนได้ในระดับหนึ่ง แต่ในกรณีของปุ๋ยไนโตรเจนในรูปยูเรีย น้ำปูนใส จะไม่ทำปฏิกิริยากับปุ๋ยยูเรียก็จะไม่ได้กลิ่นฉุนของแอมโมเนีย

อย่างไรก็ตาม การตรวจสอบปุ๋ยเคมีด้วยน้ำปูนใส เป็นการตรวจสอบเพียงเบื้องต้น เพื่อทำให้เราทราบว่า ปุ๋ยเคมีนั้นมีธาตุอาหารพืชไนโตรเจนอยู่ แต่ไม่สามารถทราบได้ว่ามีปริมาณเท่าใด การตรวจสอบที่ได้ผลชัดเจน ถูกต้อง แม่นยำ จำเป็นต้องวิเคราะห์ตรวจสอบได้จากห้องปฏิบัติการของทางราชการ



ที่มา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันที่ 11 มกราคม 2551
http://www.naewna.com/news.asp?ID=90337



www.phtnet.org › ข่าวเกษตรประจำวัน - แคช -


ฟิลเลอร์

         เป็นแร่ธาตุธรรมชาติ มีซิลิก้า แคลเซียม แมกนีเซียม และมีธาตุอาหารเสริมครบทุกธาตุที่มีความจำเป็นต่อความต้องการของพืช และมีสารปรับสภาพดินช่วยลดกรดในดิน

ประโยชน์
          ทำให้พืชแตกรากแตกแขนง หาอาหารเก่งระบบรากแข็งแรง ต้นใหญ่ใบงาม แข็งแรงสมบูรณ์ ต้านทานโรค และปลอดโรคป้องกันรากเน่าโคนเน่า ที่มีสาเหตุจากเชื้อราและแบคทีเรียพร้อมทั้งปรับสภาพ ค่า PH ความเป็นกรด-ด่างในดิน ทำให้ดินดี ต้นพืชกินปุ๋ยได้มากขึ้น และปลดปล่อยปุ๋ยเคมีที่ตกค้างอยู่ในดินกับมาให้พืชใช้ กระตุ้นระบบการทำงานของพืชใช้เป็นฟิลเลอร์ผสมปุ๋ยได้ทุกสูตร ลดจำนวนการใช้ปุ๋ยเคมี 50-80% 

อัตราการใช้
          ใช้ฟิลเลอร์ จำนวน 4 ส่วน ต่อปุ๋ยเคมี 1 ส่วน ในนาข้าว และ ยางพารา
          ใช้ฟิลเลอร์จำนวน 4 ส่วน ต่อปุ๋ยเคมี 1 ส่วน ในพืชไร่ พืชสวน
          ใช้ฟิลเลอร์จำนวน 3 ส่วน ต่อปุ๋ยเคมี 1 ส่วน 0-0-60,21-0-0,46-0-0 ในปาล์ม



ฟิลเลอร์

         เป็นแร่ธาตุธรรมชาติ มีซิลิก้า แคลเซียม แมกนีเซียม และมีธาตุอาหารเสริมครบทุกธาตุที่มีความจำเป็นต่อความต้องการของพืช และมีสารปรับสภาพดินช่วยลดกรดในดิน

ประโยชน์
          ทำให้พืชแตกรากแตกแขนง หาอาหารเก่งระบบรากแข็งแรง ต้นใหญ่ใบงาม แข็งแรงสมบูรณ์ ต้านทานโรค และปลอดโรคป้องกันรากเน่าโคนเน่า ที่มีสาเหตุจากเชื้อราและแบคทีเรียพร้อมทั้งปรับสภาพ ค่า PH ความเป็นกรด-ด่างในดิน ทำให้ดินดี ต้นพืชกินปุ๋ยได้มากขึ้น และปลดปล่อยปุ๋ยเคมีที่ตกค้างอยู่ในดินกับมาให้พืชใช้ กระตุ้นระบบการทำงานของพืชใช้เป็นฟิลเลอร์ผสมปุ๋ยได้ทุกสูตร ลดจำนวนการใช้ปุ๋ยเคมี 50-80% 

อัตราการใช้
          ใช้ฟิลเลอร์ จำนวน 4 ส่วน ต่อปุ๋ยเคมี 1 ส่วน ในนาข้าว และ ยางพารา
          ใช้ฟิลเลอร์จำนวน 4 ส่วน ต่อปุ๋ยเคมี 1 ส่วน ในพืชไร่ พืชสวน
          ใช้ฟิลเลอร์จำนวน 3 ส่วน ต่อปุ๋ยเคมี 1 ส่วน 0-0-60,21-0-0,46-0-0 ในปาล์ม



ไดโลไมต์

ไดโลไมต์ (Dolomite) เป็นปูนที่มีสารประกอบของคาร์บอเนต เช่นเพียวกับหินปูนแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCo3) ซึ่งได้จากภูเขาหินปูนที่มีอยู่ทั่วไปในประเทศไทย โดโลไมต์มีสูตรทางเคมีว่า แมกนีเซียมแคลเซียมคาร์บอเนต MgCo3CaCo3 เมื่อบริสุทธิ์จะมีแมกนีเซียม 13.5% (แมกนีเซียมออกไ

ไดโลไมต์

ไดโลไมต์ (Dolomite) เป็นปูนที่มีสารประกอบของคาร์บอเนต เช่นเพียวกับหินปูนแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCo3) ซึ่งได้จากภูเขาหินปูนที่มีอยู่ทั่วไปในประเทศไทย โดโลไมต์มีสูตรทางเคมีว่า แมกนีเซียมแคลเซียมคาร์บอเนต MgCo3CaCo3 เมื่อบริสุทธิ์จะมีแมกนีเซียม 13.5% (แมกนีเซียมออกไซต์ 21.7%) และแคลเซียมออกไซต์ 30.2%

โดโลไมต์สามารถนำไปผลิตเป็นสารอื่น ๆ ได้ดังนี้

โดโลไมติกไลม์ (Dolomiticlime) เมื่อเรานำโดโลไมต์ไปผ่านกระบวนการแคลซิเนชั่น(Calcination)ที่อุณหภูมิ 900-100 C แล้วละก็ คุณผู้ฟังจะได้ โดโลไมติกไลม์ ซึ่งมีสูตรทางเคมีคือแมกนีเซียมออกไซด์ MgO.Cao และถ้าใช้อุณหภูมิเพียง 550-600 C และพ่นด้วย Supperheatedsteam แล้วแมกนีเซียมคาร์บอเนตจะเปลี่ยนเป็นแมกนีเซียมออกไซด์ ส่วนแคลเซียมคาร์บอเนตไม่สลายตัว จึงได้แมกนีเซียมออกไซด์แคลเซียมคาร์บอเนต MgO.CaCo3 ซึ่งสลายในดินและเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ง่ายกว่าโดโลไมต์อีกด้วย
แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ผลิตได้จากปฎิกิริยาระหว่างโดโลไมต์บดกับแอมโมเนียมไนเตรท ดังนั้นปุ๋ยที่จะได้ คือ แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ซึ่งเก็บรักษาง่ายและไม่เสี่ยงต่อการระเบิดเหมือนแอมโมเนียมไนเตรท
เบสิก สแลค (Basic Slag) เบสิกสแลค จัดเป็นปุ๋ยฟอสเฟตที่ได้รับจากวัสดุอันเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมถลุงแร่ เหล็ก จากสินแร่ที่มีฟอสฟอรัสเป็นสิ่งเจือปน วิธีการแยกสิ่งเจือปนนี้ทำได้โดยหลอมสินแร่เหล็กกับถ่านเค้ก และโดโลไมต์บดในเตาเผาที่มีอุณหภูมิประมาณ 1,900 C เบสิก สแลคจะเบากว่าเนื้อเหล็กที่หลอม ดังนั้นเบสิกสแลคจึงลอยอยู่บนผิวและถ่ายออกได้หลังจากปล่อยไว้ให้เย็นลงในอากาศจึงเทลงในน้ำ [...]

ซต์ 21.7%) และแคลเซียมออกไซต์ 30.2%

โดโลไมต์สามารถนำไปผลิตเป็นสารอื่น ๆ ได้ดังนี้

โดโลไมติกไลม์ (Dolomiticlime) เมื่อเรานำโดโลไมต์ไปผ่านกระบวนการแคลซิเนชั่น(Calcination)ที่อุณหภูมิ 900-100 C แล้วละก็ คุณผู้ฟังจะได้ โดโลไมติกไลม์ ซึ่งมีสูตรทางเคมีคือแมกนีเซียมออกไซด์ MgO.Cao และถ้าใช้อุณหภูมิเพียง 550-600 C และพ่นด้วย Supperheatedsteam แล้วแมกนีเซียมคาร์บอเนตจะเปลี่ยนเป็นแมกนีเซียมออกไซด์ ส่วนแคลเซียมคาร์บอเนตไม่สลายตัว จึงได้แมกนีเซียมออกไซด์แคลเซียมคาร์บอเนต MgO.CaCo3 ซึ่งสลายในดินและเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ง่ายกว่าโดโลไมต์อีกด้วย
แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ผลิตได้จากปฎิกิริยาระหว่างโดโลไมต์บดกับแอมโมเนียมไนเตรท ดังนั้นปุ๋ยที่จะได้ คือ แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ซึ่งเก็บรักษาง่ายและไม่เสี่ยงต่อการระเบิดเหมือนแอมโมเนียมไนเตรท
เบสิก สแลค (Basic Slag) เบสิกสแลค จัดเป็นปุ๋ยฟอสเฟตที่ได้รับจากวัสดุอันเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมถลุงแร่ เหล็ก จากสินแร่ที่มีฟอสฟอรัสเป็นสิ่งเจือปน วิธีการแยกสิ่งเจือปนนี้ทำได้โดยหลอมสินแร่เหล็กกับถ่านเค้ก และโดโลไมต์บดในเตาเผาที่มีอุณหภูมิประมาณ 1,900 C เบสิก สแลคจะเบากว่าเนื้อเหล็กที่หลอม ดังนั้นเบสิกสแลคจึงลอยอยู่บนผิวและถ่ายออกได้หลังจากปล่อยไว้ให้เย็นลงในอากาศจึงเทลงในน้ำ [...]












สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-08-25 (5704 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©