-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 358 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

สารเคมี





สารพิษไซเปอร์เมทริน


ชุดตรวจสอบสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินเบื้องต้นชนิดพกพา สารพิษไซเปอร์เมทริน เป็นยาฆ่าแมลงกลุ่มไพเรทรอยด์ ซึ่งออกฤทธิ์กำจัดศัตรูพืชได้หลายชนิด จากการที่ผู้ประดิษฐ์ชุดตรวจสอบสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินเบื้องต้นออกไป สำรวจ พบว่าแปลงผักของเกษตรกรที่ปลูกผักในภาคกลางและภาคตะวันออกเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ ใช้สารพิษไซเปอร์เมทรินฉีดพ่นกำจัดศัตรูพืช

สารพิษดังกล่าวจึงเป็นปัญหาที่ตรวจพบตกค้างในผักและผลไม้ส่งออกตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมา จนถึงปี 2549 โดยปี 2546, 2547, 2548 ตรวจพบไซเปอร์เมทรินมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ และจากศูนย์ข้อมูลบริการแบบเบ็ดเสร็จของกรมวิชาการเกษตรปีล่าสุด 2551 พบสารไซเปอร์เมทรินมากถึง 70 เปอร์เซ็นต์ของผักและผลไม้ที่ส่งออก โดยเฉพาะพวกสมุนไพร เช่น ใบกะเพรา และใบโหระพา พบสูงถึง 9 ppm สูงกว่าค่าความปลอดภัย ซึ่งกำหนดโดย CODEX MRL ซึ่งเป็นมาตรฐานสากล

นางอุดมลักษณ์ อุ่นจิตวรรธนะ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานวิจัยวัตถุมีพิษ สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ผู้ประดิษฐ์ชุดตรวจสอบสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินเบื้องต้น กล่าวว่า สารไซเปอร์เมทรินจะออกฤทธิ์กับแมลงหรือคน ทำให้ระบบประสาทผิดปกติ เพราะสารนี้จะไประงับการทำงานเซลล์เมนเบรนในระบบประสาท ซึ่งมีผลต่อการทรงตัวของแมลงหรือคน แต่เนื่องจากแมลงมีรูปร่างเล็กกว่าคนมาก ถ้าได้รับสารนี้ในปริมาณมากอาจหมดสติหรือที่เรียกว่า น็อกดาวน์ สำหรับคนอาจมีอาการมึนซึมหรือการเคลื่อนไหวร่างกายมีอาการผิดปกติเล็กน้อย [...]


news.enterfarm.com/content/สารตกค้างจากการเกษตร -









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-06-06 (1678 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©