-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 299 บุคคลทั่วไป และ 1 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

แฟ้มงานวิจัย






เทคโนโลยีสร้างกล้วยไม้สายพันธุ์ไม่เป็นหมัน


ผลงานไบโอเทค (เอกสารเผยแพร่ทั่วไป : PLT-กล้วยไม้ไม่เป็นหมัน-090729)

กล้วยไม้ไทยเป็นไม้ตัดดอกที่ทำรายได้ให้กับประเทศ และถูกกำหนดให้เป็นพืชเร่งรัดการส่งออกในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในปี พ.ศ.2550 มีผลิตภัณฑ์มากกว่าร้อยละ 50 ส่งออกตลาดโลกในรูปกล้วยไม้ตัดดอกมุลค่า 2,531 ล้านบาท หรือประมาณร้อยละ 90 ของมูลค่าการส่งออกไม้ดอกไม้ประดับของประเทศ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่าในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 5-7 ต่อปี 



ความต้องการนวัตกรรมในการสร้างกล้วยไม้พันธุ์ใหม่ๆ มีสูงขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศในระบบตลาดเสรี ดร.เฉลิมพล เกิดมณี ดร.เกรียงไกร โมสาลียานนท์ และคณะ จากห้องปฏิบัติการสรีรวิทยาและชีวเคมีด้านพืช
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ร่วมกับสวนกล้วไม้ TNU พัฒนาสายพันธุ์กล้วยไม้ที่ไม่เป็นหมัน เพื่อนำไปใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์ในการพัฒนาสายพันธุ์กล้วยไม้ลูกผสมระหว่างกุหลาบลอเรนเซีย แวนด้า และ แอสโคเซนด้า ด้วยการเพิ่มจำนวนชุดโครโมโซมของกล้วยไม้ในระบบการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช


(ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม)


ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ต.คลองหนึ่ง
อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร  0 2564 6701-5
http://www.biotec.or.th









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-05-10 (806 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©